ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_3_494.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67461 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67461 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-674612020-04-02T14:46:50Z ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน Effect of Desensitizing Toothpaste and Mouthwash Containing Pro-Argin and Novamin on the Microtensile Bond Strength of Dental Adhesives to Dentin ศศิกานต์ สิริยศธำรง สิทธิกร คุณวโรตม์ โปรอาร์จิน โนวามิน ยาสีฟัน นํ้ายาบ้วนปาก ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการใช้ยาสีฟันและ/หรือนํ้ายาบ้วนปากผสมโปรอาร์จินและโนวามินต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดระบบเอตช์แอนด์รินส์หรือเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟัน วิธีการวิจัย: ใช้ฟันกรามแท้ 50 ซี่ ตัดใต้รอยต่อเนื้อฟันเคลือบฟัน 1 มม. ขนานด้านบดเคี้ยว สุ่มแบ่งฟันเป็น 5 กลุ่มใหญ่ (n=10) กลุ่มใหญ่แรกแปรงด้วยนํ้ากลั่น(กลุ่มควบคุมผลลบ) กลุ่มใหญ่ที่ 2-5 แช่ฟันในกรดซิตริกความเข้มข้นร้อยละ 6 นาน 1 นาที โดยกลุ่มใหญ่ที่ 2 แปรงด้วยนํ้ากลั่น (กลุ่มควบคุมผลบวก) กลุ่มใหญ่ที่ 3 และ 5แปรงด้วยยาสีฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามินตามลำดับกลุ่มใหญ่ที่ 4 หลังแปรงด้วยยาสีฟันผสมโปรอาร์จินเช่นเดียวกับกลุ่มใหญ่ที่ 3 แล้วแช่ฟันในนํ้ายาบ้วนปากผสมโปรอาร์จินนาน 30 วินาที โดยการแปรงแต่ละครั้งใช้เวลา 1 นาที วันละ 2 ครั้งติดต่อกัน 14 วัน ภายหลังการเตรียมผิวฟัน เก็บฟันในนํ้าลายเทียมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสแต่ละกลุ่มใหญ่ถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย เพื่ออุดด้วยเรซินคอมโพสิต ร่วมกับสารยึดติดออพติบอนด์เอฟแอลหรือ เคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์ ตามคำแนะนำของบริษัท เก็บฟันที่อุดแล้วในนํ้ากลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ตัดแต่งชิ้นงานเป็นรูปนาฬิกาทรายพื้นที่หน้าตัดส่วนคอด 1 ตารางมิลลิเมตร ทดสอบความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคด้วยเครื่องทดสอบสากลที่ความเร็วในการทดสอบ 1 มม./นาที นำค่าที่ได้มาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวโดยใช้การเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดดันเนตที 3 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคระหว่างการใช้สารยึดติดทั้งสองในการเตรียมผิวเนื้อฟันแต่ละชนิดด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยแบบจับคู่ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) ผลการศึกษา: ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดทั้งสองชนิดกับเนื้อฟันที่เตรียมผิวด้วยยาสีฟันและ/หรือนํ้ายาบ้วนปากผสมโปรอาร์จินและโนวามินมีค่าตํ่ากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ยกเว้นกลุ่มที่ใช้สารยึดติดเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์กับเนื้อฟันที่เตรียมผิวด้วยยาสีฟันผสมโปรอาร์จินมีค่าความแข็งแรงยึดติดต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติเนื้อฟันที่เตรียมผิวด้วยยาสีฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามินเมื่อใช้สารยึดติดเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์มีค่าความแข็งแรงยึดติดสูงกว่าสารยึดติดออพติบอนด์เอฟแอลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา: การใช้ยาสีฟันและ/หรือนํ้ายาบ้วนปากผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ส่งผลกระทบต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน การใช้สารยึดติดเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์กับเนื้อฟัน ที่ผ่านการใช้ยาสีฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามินให้ค่าการยึดติดสูงกว่าสารยึดติดออพติบอนด์เอฟ-แอล อาจเนื่องมาจากผลึกแร่ธาตุที่เกิดขึ้นในท่อเนื้อฟันมีความต้านทานต่อกรดฟอสฟอริก จึงขัดขวางการยึดติดกับเนื้อฟันอีกทั้งสารยึดติดเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์ยังมีฟังก์ชันนอลมอนอเมอร์ที่ช่วยเพิ่มการยึดติดโดยเกิดพันธะเคมีกับผลึกในท่อเนื้อฟันได้ 2020-04-02T14:46:50Z 2020-04-02T14:46:50Z 2562 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 39,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561) 44-57 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_3_494.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67461 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
โปรอาร์จิน โนวามิน ยาสีฟัน นํ้ายาบ้วนปาก ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค |
spellingShingle |
โปรอาร์จิน โนวามิน ยาสีฟัน นํ้ายาบ้วนปาก ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค ศศิกานต์ สิริยศธำรง สิทธิกร คุณวโรตม์ ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
ศศิกานต์ สิริยศธำรง สิทธิกร คุณวโรตม์ |
author_facet |
ศศิกานต์ สิริยศธำรง สิทธิกร คุณวโรตม์ |
author_sort |
ศศิกานต์ สิริยศธำรง |
title |
ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
title_short |
ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
title_full |
ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
title_fullStr |
ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
title_full_unstemmed |
ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
title_sort |
ผลของยาสีฟันและนํ้ายาบ้วนปากลดอาการเสียวฟันผสมโปรอาร์จินและโนวามิน ต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของสารยึดติดกับเนื้อฟัน |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_3_494.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67461 |
_version_ |
1681426639637970944 |