ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธัญณภัสร์ อังคทะวิวัฒน์, วิรัช พัฒนาภรณ์, ชาย รังสิยากูล
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_487.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67470
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67470
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674702020-04-02T14:46:51Z ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ Maxillary Posterior Teeth Distalization with Miniscrew Anchorage Relative to Force Vectors Applied to Different Lengths of Retraction Hook, Analyzed Using the Finite Element Method ธัญณภัสร์ อังคทะวิวัฒน์ วิรัช พัฒนาภรณ์ ชาย รังสิยากูล การเคลื่อนที่ของกลุ่มฟันหลังบนไปด้านไกล กลาง วิธีไฟไนต์เอลิเมนต จุดศูนย์กลางความต้านทาน เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อประเมินและเปรียบเทียบการกระจายเเรงเเละรูปเเบบการเคลื่อนที่ ไปทางด้านไกลกลางของกลุ่มฟันหลังบนเมื่อใช้ปริมาณเเรง ขนาด 250 กรัม โดยให้เเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ไปยังตะขอเกี่ยวที่ระดับต่าง ๆ ได้เเก่ 0 2 4 6 และ 8 มิลลิเมตรวิเคราะห์ โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โมเดลสามมิติถูกสร้างขึ้นประกอบด้วยฟันกรามน้อยบนซี่ที่หนึ่ง ฟันกรามน้อยบนซี่ที่สอง ฟันกรามบนซี่ที่หนึ่งเเละฟันกรามบนซี่ที่สอง เอ็นยึดปริทันต์ และกระดูกเบ้าฟันโดยให้เเรงไปทางด้านไกลกลางขนาดต่าง ๆ จากหลักยึดหมุดฝังที่บริเวณใต้ต่อกระดูกโหนกเเก้ม เพื่อเคลื่อนกลุ่มฟันหลังบนไปทางด้านหลัง ประเมินการเคลื่อนที่ของฟัน เเต่ละซี่ ตามเเนวเเกน x y เเละ z รวมทั้งดูค่าความเค้นวอนมิสโดยใช้ระดับเเถบสีมาตรฐานพบว่าเมื่อให้เเรงที่ตะขอเกี่ยวระดับต่ำสุด (0 มิลลิเมตร) ฟันทุกซี่จะเคลื่อนที่โดยตัวฟันเคลื่อนไปทางด้านไกลกลาง ร่วมกับฟันซี่กรามน้อยซี่ที่สอง ฟันกรามซี่ที่หนึ่ง เเละฟันกรามซี่ที่สองถูกดันเข้าไปทาง รากฟัน เเต่พบว่าฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่ง ถูกดันออกไปทาง ระนาบสบฟันเล็กน้อย เเละ ฟันทุกซี่เคลื่อนหมุนออกทางด้านเเก้มเเต่เมื่อให้เเรงที่ตะขอเกี่ยวระดับสูงที่สุด (8 มิลลิเมตร) พบ ว่าตัวฟัน ของฟันกรามน้อยซี่ที่สอง ฟันกรามซี่ที่หนึ่ง เเละฟันกรามซี่ที่สอง เคลื่อนที่ไปทางด้าน ไกลกลางมากขึ้น เเต่ฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่งจะเคลื่อนไปทางด้านไกลกลางลดน้อยลง ร่วมกับตัวฟันของ ฟันทุกซี่เคลื่อนเเบบดันออกไปทางระนาบสบฟัน เเละฟันกรามน้อยซี่ที่สอง ฟันกรามซี่ที่หนึ่ง เเละฟันกรามซี่ที่สอง เคลื่อนที่หมุนเข้าทางด้านลิ้นส่วนฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่งเคลื่อนหมุนออกทางด้านเเก้มเล็กน้อย เเต่อย่างไรก็ตามพบว่าที่ ระดับตะขอเกี่ยวสูง 0 เเละ 2 มิลลิเมตร จะมีการเคลื่อนที่ของฟันทุกซี่โดยส่วนใหญ่เคลื่อนที่ไปทางด้านไกลกลาง เเละมีการเคลื่อนที่ไปทาง เเนวดิ่งน้อย ส่วนที่ระดับตะขอเกี่ยว 2 และ 4 มิลลิเมตร จะมีการเคลื่อนที่ของฟันทุกซี่โดยส่วนใหญ่เคลื่อนที่ไปทางด้านไกลกลางเเละมีการเคลื่อนที่ไปทางเเนวขวางน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับตำเเหน่ง ตะขอเกี่ยวระดับอื่น ๆ ผลจากการศึกษาพบว่าตะขอเกี่ยวระดับต่ำ 0 2 เเละ4 มิลลิเมตร ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ไปทางด้านไกลกลางมาก ร่วมกับฟันเคลื่อนที่เเนวดิ่งเเละเเนวขวางน้อยเมื่อ เทียบกับระดับตะขออื่น ๆ สำหรับตะขอเกี่ยวระดับสูง 6 เเละ 8 มิลลิเมตร พบการเคลื่อนที่ในเเนวดิ่งเเละเเนวขวางมากในฟันทุกซี่ ยกเว้นฟันกรามบนซี่ที่สอง ที่พบการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เเละฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่ง ที่พบการเคลื่อนที่ในเเนวขวางในปริมาณน้อยมาก สรุปได้ว่าระดับความสูงเเนวดิ่งของตะขอเกี่ยวเป็นปัจจัยที่สำคัญในการกำหนดรูปแบบของการเคลื่อนที่ไปทางด้านไกลกลางของกลุ่มฟันหลังบน เนื่องจากรูปแบบการเคลื่อนที่ของฟันขึ้นกับความสัมพันธ์ระหว่างเเนวเเรงเเละตำเเหน่งของจุดศูนย์กลางความต้านทานของระบบเเรง 2020-04-02T14:46:50Z 2020-04-02T14:46:50Z 2562 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 39,2 (พ.ค.-ก.ย. 2561) 77-89 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_487.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67470 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การเคลื่อนที่ของกลุ่มฟันหลังบนไปด้านไกล กลาง
วิธีไฟไนต์เอลิเมนต
จุดศูนย์กลางความต้านทาน
spellingShingle การเคลื่อนที่ของกลุ่มฟันหลังบนไปด้านไกล กลาง
วิธีไฟไนต์เอลิเมนต
จุดศูนย์กลางความต้านทาน
ธัญณภัสร์ อังคทะวิวัฒน์
วิรัช พัฒนาภรณ์
ชาย รังสิยากูล
ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ธัญณภัสร์ อังคทะวิวัฒน์
วิรัช พัฒนาภรณ์
ชาย รังสิยากูล
author_facet ธัญณภัสร์ อังคทะวิวัฒน์
วิรัช พัฒนาภรณ์
ชาย รังสิยากูล
author_sort ธัญณภัสร์ อังคทะวิวัฒน์
title ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
title_short ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
title_full ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
title_fullStr ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
title_sort ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนที่กลุ่มฟันหลังบนไปด้านหลังและทิศทางของเเนวเเรงจากหลักยึดหมุดฝัง ในกระดูกไปยังตะขอเกี่ยวหลายระดับ วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_487.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67470
_version_ 1681426641346101248