ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สาครรัตน์ คงขุนเทียน, ประกายมุกด์ สาหร่ายทอง, พรรณวดี พันธัย
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_490.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67476
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67476
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674762020-04-02T14:46:51Z ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง Prevalence of Three Periodontal Pathogens and Virulence Factor Producing Genes สาครรัตน์ คงขุนเทียน ประกายมุกด์ สาหร่ายทอง พรรณวดี พันธัย แบคทีเรียก่อโรคปริทันต์ โรคปริทันต์อักเสบ ยีน กำหนดการสร้างปัจจัยความรุนแรง ซีดีทียีน พีอาร์ทีเอชยีน ฟิมเอยีน พีอาร์ทีซียีน เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของเชื้อแอกกรีเกรทิแบคเทอร์ แอคทิโนมัยซีเทมโคมิแทนส์ ซีโรไทป์ต่าง ๆเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส และเชื้อแทนเนอเรลลา ฟอร์ซัยเธีย รวมทั้งตรวจยีนที่กำหนดการสร้างปัจจัยความรุนแรงของเชื้อจากผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบชนิดก้าวร้าวโรคปริทันต์อักเสบชนิดเรื้อรัง และโรคเหงือกอักเสบ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ: นำตัวอย่างคราบจุลินทรีย์ใต้เหงือกของผู้ป่วยโรคปริทันต์ทั้ง 3 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คนมาตรวจหาเชื้อและยีนกำหนดการสร้างปัจจัยความรุนแรงของเชื้อด้วยวิธีวิธีพีซีอาร์แบบพื้นฐาน วิธีเนสเต็ทพีซีอาร์และวิธีมัลติเพล็กพีซีอาร์ผลการศึกษา: ตรวจพบเชื้อแอกกรีเกรทิแบคเทอร์แอคทิโนมัยซีเทมโคมิแทนส์ได้มากที่สุดในกลุ่มผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบชนิดก้าวร้าวอย่างมีนัยสำคัญ โดยพบซีโรไทป์ซีมากที่สุด เมื่อเรียงลำดับผู้ป่วยตามกลุ่มโรค ได้แก่ ผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบชนิดก้าวร้าว โรคปริทันต์อักเสบชนิดเรื้อรัง และโรคเหงือกอักเสบ ตรวจพบยีนที่มีการสร้างไซโตลีธัลดิสเทนดิงท็อกซิน (ซีดีทียีน) ครบทั้ง 3 ยีน (เอ บี และซี) ได้ร้อยละ 56.3, 50 และ 44.4 ตามลำดับ สำหรับเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิสพบว่ามีความชุกร้อยละ 85,75 และ 85 ตามลำดับ โดยมียีนกำหนดการสร้างฟิมเบรีย (ฟิมเอยีน) ร่วมกับยีนกำหนดการสร้างเอนไซม์คอลลาจีเนส (พีอาร์ทีซียีน) ร้อยละ 58.8, 80 และ 52.9 ตามลำดับ ส่วนเชื้อแทนเนอเรลลา ฟอร์ซัยเธียพบว่ามีความชุกสูงในทุกกลุ่มตัวอย่างคือร้อยละ 100, 100 และ 90 ตามลำดับโดยพบยีนกำหนดการสร้างเอนไซม์ซิสเทอีน โปรติเอส (พีอาร์ทีเอชยีน) ร้อยละ 90, 80 และ 72.2 ตามลำดับ สรุป: ตรวจพบความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ทั้ง 3 ชนิดในผู้ป่วยทุกกลุ่ม พบเชื้อแอกกรีเกรทิแบคเทอร์แอคทิโนมัยซีเทมโคมิแทนส์อย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มผู้ป่วย โรคปริทันต์อักเสบชนิดก้าวร้าว โดยเฉพาะซีโรไทป์ซี ส่วนยีนที่กำหนดการสร้างปัจจัยความรุนแรง พบซีดีทียีนและพีอาร์ทีเอชยีนในกลุ่มผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบชนิดก้าวร้าวมากที่สุด ในขณะที่พบฟิมเอยีนและพีอาร์ทีซียีนในกลุ่มผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบชนิดเรื้อรังมากที่สุด อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2020-04-02T14:46:51Z 2020-04-02T14:46:51Z 2562 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 39,2 (พ.ค.-ก.ย. 2561) 119-132 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_490.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67476 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic แบคทีเรียก่อโรคปริทันต์
โรคปริทันต์อักเสบ
ยีน กำหนดการสร้างปัจจัยความรุนแรง
ซีดีทียีน
พีอาร์ทีเอชยีน
ฟิมเอยีน
พีอาร์ทีซียีน
spellingShingle แบคทีเรียก่อโรคปริทันต์
โรคปริทันต์อักเสบ
ยีน กำหนดการสร้างปัจจัยความรุนแรง
ซีดีทียีน
พีอาร์ทีเอชยีน
ฟิมเอยีน
พีอาร์ทีซียีน
สาครรัตน์ คงขุนเทียน
ประกายมุกด์ สาหร่ายทอง
พรรณวดี พันธัย
ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author สาครรัตน์ คงขุนเทียน
ประกายมุกด์ สาหร่ายทอง
พรรณวดี พันธัย
author_facet สาครรัตน์ คงขุนเทียน
ประกายมุกด์ สาหร่ายทอง
พรรณวดี พันธัย
author_sort สาครรัตน์ คงขุนเทียน
title ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
title_short ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
title_full ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
title_fullStr ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
title_full_unstemmed ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
title_sort ความชุกของเชื้อก่อโรคปริทันต์ 3 สายพันธุ์และยีนที่สร้างปัจจัยความรุนแรง
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_490.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67476
_version_ 1681426642458640384