ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุธิศา ล่ามช้าง, ฐิติมา สุขเลิศตระกูล, อรพินท์ จันทร์ปัญญาสกุล
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/229907/156495
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67485
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67485
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674852020-04-02T14:46:51Z ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน Relationship Between Uncertainty in Illness and Coping Among Caregivers of Children with Acute Illness สุธิศา ล่ามช้าง ฐิติมา สุขเลิศตระกูล อรพินท์ จันทร์ปัญญาสกุล ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย การเผชิญความเครียด ผู้ดูแล เด็กป่วยเฉียบพลัน วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ผู้ดูแลที่อยู่กับความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของเด็กป่วยเฉียบพลัน ส่งผลด้านลบต่อการเผชิญความเครียด การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย การเผชิญความเครียด และความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงคือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันอายุ 1 เดือน ถึง 6 ปี ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความรู้สึกไม่แน่นอนเกี่ยวกับความเจ็บป่วยเฉียบพลันในเด็กของบิดามารดา และแบบสอบถามการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ เท่ากับ 0.83 และ 0.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา คะแนนสัมพัทธ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการศึกษาพบว่า1. ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของเด็กโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x_ = 74.72, SD= 17.72) และความรู้สึกไม่แน่นอนรายด้านคือ 1. ความคลุมเครือเกี่ยวกับความรุนแรงของความเจ็บป่วย ( x_ = 21.21, S.D.= 5.37) 2. การไม่สามารถทำนายการดำเนินของโรค ( x_ = 15.19, S.D.= 4.18) 3. ความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการที่เหมาะสม ( x_ = 14.13, S.D.=4.77) 4. การขาดข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุความเจ็บป่วย ( x_ = 12.95, S.D.=3.18) 5. ความต่างของการตัดสินใจกับบุคลากรทีมสุขภาพ ( x_ = 11.23, S.D.=3.65) มีค่าเฉลี่ยคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง2. ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันใช้วิธีการเผชิญความเครียดมากกว่าหนึ่งวิธีและวิธีที่ใช้มากที่สุดคือ การเผชิญกับปัญหา (คะแนนสัมพัทธ์เท่ากับ 0.43) รองลงมาคือ การแก้ไขปัญหาทางอ้อม (คะแนนสัมพัทธ์ เท่ากับ 0.36) และการจัดการกับอารมณ์ (คะแนนสัมพัทธ์ เท่ากับ 0.20) ตามลำดับ 3. ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันมีความสัมพันธ์กับการเผชิญปัญหาทางลบในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = - 0.33, p < .05) ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าพยาบาลควรตระหนักถึงความสำคัญของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันเพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กพัฒนาวิธีการเผชิญความเครียดที่เหมาะสม 2020-04-02T14:46:51Z 2020-04-02T14:46:51Z 2562 พยาบาลสาร 46,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2562) 1-12 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/229907/156495 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67485 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย
การเผชิญความเครียด
ผู้ดูแล
เด็กป่วยเฉียบพลัน
spellingShingle ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย
การเผชิญความเครียด
ผู้ดูแล
เด็กป่วยเฉียบพลัน
สุธิศา ล่ามช้าง
ฐิติมา สุขเลิศตระกูล
อรพินท์ จันทร์ปัญญาสกุล
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author สุธิศา ล่ามช้าง
ฐิติมา สุขเลิศตระกูล
อรพินท์ จันทร์ปัญญาสกุล
author_facet สุธิศา ล่ามช้าง
ฐิติมา สุขเลิศตระกูล
อรพินท์ จันทร์ปัญญาสกุล
author_sort สุธิศา ล่ามช้าง
title ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/229907/156495
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67485
_version_ 1681426644131119104