ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปริยศ กิตติธีระศักดิ์, อลิเซีย เค.แมททริ, อลาน่า สตีฟเฟ่น
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230314/156776
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67490
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67490
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674902020-04-02T14:46:51Z ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย The Validity and Linguistic Testing of Translated Measures of Sexual Orientation and Gender Identity for Research in Lesbian, Gay, Bisexual, and Transgender (LGBT) Populations in Thailand ปริยศ กิตติธีระศักดิ์ อลิเซีย เค.แมททริ อลาน่า สตีฟเฟ่น อัตลักษณ์ทางเพศ ความหลากหลายทางเพศ แบบวัด คนกลุ่มน้อยทางเพศและเพศภาวะ รสนิยมทางเพศ วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีงานวิจัยจำนวนมากที่รายงานว่าผู้มีความหลากหลายทางเพศเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาด้านสุขภาพแต่กลับพบงานวิจัยในประเทศไทยเพียงเล็กน้อย และพบว่าการขาดแบบคัดกรองคุณลักษณะทางเพศที่มีมาตรฐานเป็นอุปสรรคสำคัญในการวิจัยการพยาบาลในคนกลุ่มนี้ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อแปลแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศ (SOGI) ซึ่งเป็นแบบวัดมาตรฐานที่ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาด้วยกระบวนการแปลเครื่องมือเพื่อใช้ในงานวิจัยข้ามวัฒนธรรม หลังจากนั้นแบบวัด SOGI ได้ถูกประเมินความตรงเชิงเนื้อหาโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ และตรวจสอบระดับความเข้าใจ/การยอมรับเชิงภาษาจากกลุ่มตัวอย่างคนไทยวัยผู้ใหญ่ที่หลากหลายด้วยการเก็บข้อมูลแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมควอลทริกซ์ (qualtrics program) ข้อมูลการศึกษาได้รับการวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาจากการลงความเห็นของผู้เชี่ยวชาญพบว่าแบบวัด SOGI มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาระดับสูง (I-CVI = 1, S-CVI/Ave = 1) จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 282 คน ส่วนใหญ่มีเพศกำเนิดเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.6) มี อัตลักษณ์ทางเพศตรงกับเพศกำเนิด (ร้อยละ 90.1) และมีรสนิยมทางเพศเป็นกลุ่มรักเพศตรงข้าม (ร้อยละ 75.2)สำหรับผลการตรวจสอบเชิงภาษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนความเข้าใจในข้อคำถามและตัวเลือกตอบของแบบวัด SOGI ในระดับสูง (M = 9.37 – 10.38, SD = 0.87 – 1.27 และ M = 9.80 – 10.26, SD = 0.92 – 1.24, ตามล�าดับ) และมีค่าเฉลี่ยการยอมรับในระดับสูงเช่นกัน (ร้อยละ 98.62) เมื่อเปรียบเทียบในกลุ่มที่มีคุณลักษณะทางเพศและเพศสภาวะที่ต่างกัน พบว่ากลุ่มคนรักเพศเดียวกันและคนข้ามเพศมีความเข้าใจต่อแบบวัด SOGI ต่ำกว่ากลุ่มอื่นเล็กน้อย ในขณะที่คนรักเพศตรงข้ามมีระดับการยอมรับต่อแบบวัด SOGI สูงที่สุด ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัด SOGI ฉบับภาษาไทยมีความตรงเชิงเนื้อหาและมีระดับความเข้าใจ/การยอมรับในระดับสูง สามารถประยุกต์ใช้ในงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อคัดกรองคุณลักษณะทางเพศและเพศสภาวะในกลุ่มประชากรวัยผู้ใหญ่ที่หลากหลาย และสามารถเทียบเคียงผลการศึกษากับต่างประเทศได้ 2020-04-02T14:46:51Z 2020-04-02T14:46:51Z 2562 พยาบาลสาร 46,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2562) 122-137 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230314/156776 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67490 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic อัตลักษณ์ทางเพศ
ความหลากหลายทางเพศ
แบบวัด
คนกลุ่มน้อยทางเพศและเพศภาวะ
รสนิยมทางเพศ
spellingShingle อัตลักษณ์ทางเพศ
ความหลากหลายทางเพศ
แบบวัด
คนกลุ่มน้อยทางเพศและเพศภาวะ
รสนิยมทางเพศ
ปริยศ กิตติธีระศักดิ์
อลิเซีย เค.แมททริ
อลาน่า สตีฟเฟ่น
ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author ปริยศ กิตติธีระศักดิ์
อลิเซีย เค.แมททริ
อลาน่า สตีฟเฟ่น
author_facet ปริยศ กิตติธีระศักดิ์
อลิเซีย เค.แมททริ
อลาน่า สตีฟเฟ่น
author_sort ปริยศ กิตติธีระศักดิ์
title ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
title_short ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
title_full ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
title_fullStr ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
title_full_unstemmed ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
title_sort ความตรงเชิงเนื้อหาและการตรวจสอบเชิงภาษาของแบบวัดรสนิยมและอัตลักษณ์ทางเพศฉบับแปลสำหรับใช้ในงานวิจัยในผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230314/156776
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67490
_version_ 1681426645037088768