ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/229971/156524 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67493 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67493 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-674932020-04-02T14:46:51Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น Factors Related to Health Promoting Behaviors Among Adolescent Mothers เจิดนภา แสงสว่าง บังอร ศุภวิทิตพัฒนา พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรม พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ มารดาวัยรุ่น ระยะหลังคลอด วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในระยะหลังคลอดมีความสำคัญต่อมารดาวัยรุ่น การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมจะส่งผลให้มารดาวัยรุ่นมีสุขภาพดี การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรมกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาวัยรุ่นหลังคลอด 6-8 สัปดาห์ ที่มารับการตรวจหลังคลอดในคลินิกนรีเวชกรรมวางแผนครอบครัว และที่นำบุตรมาตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีนในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลหาดใหญ่และโรงพยาบาลสงขลา ระหว่างเดือนสิงหาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 จำนวน 85 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่ประเมินใน 4 ด้าน ได้แก่ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรม ที่ เจิดนภา แสงสว่าง บังอร ศุภวิทิตพัฒนาและพรรณพิไล ศรีอาภรณ์ สร้างขึ้นจากกรอบแนวคิดของPender et al. (2011) และการทบทวนวรรณกรรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาโดยใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สันผลการวิจัย พบว่า มารดาวัยรุ่นมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับมาก และมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม139.58 (S.D. = 20.64) มารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70.59) มีการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมอยู่ในระดับมาก และมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 148.84 (S.D. = 24.47) มารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 51.76) มีการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง และมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 89.82 (SD = 33.67) มารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 62.35) มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรมอยู่ในระดับมาก และมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 128.94 (SD = 19.05) การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= .746, r= .856, p < .01 ตามลำดับ) และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่นและเป็นข้อมูลสำหรับการวิจัยในลำดับต่อไป เพื่อได้แนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น 2020-04-02T14:46:51Z 2020-04-02T14:46:51Z 2562 พยาบาลสาร 46,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2562) 59-69 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/229971/156524 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67493 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรม พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ มารดาวัยรุ่น ระยะหลังคลอด |
spellingShingle |
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม การรับรู้สมรรถนะแห่งตนของการปฏิบัติพฤติกรรม พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ มารดาวัยรุ่น ระยะหลังคลอด เจิดนภา แสงสว่าง บังอร ศุภวิทิตพัฒนา พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ
2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ
3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
เจิดนภา แสงสว่าง บังอร ศุภวิทิตพัฒนา พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ |
author_facet |
เจิดนภา แสงสว่าง บังอร ศุภวิทิตพัฒนา พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ |
author_sort |
เจิดนภา แสงสว่าง |
title |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
title_short |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
title_full |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
title_fullStr |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
title_sort |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/229971/156524 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67493 |
_version_ |
1681426645579202560 |