ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วราภรณ์ บุญยงค์, นันทพร แสนศิริพันธ์, ฉวี เบาทรวง
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230267/156746
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67494
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67494
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674942020-04-02T14:46:51Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Factors Related to Stress of Expectant Fathers During Hospitalization of High Risk Pregnant Wives วราภรณ์ บุญยงค์ นันทพร แสนศิริพันธ์ ฉวี เบาทรวง ผู้จะเป็นบิดา ตั้งครรภ์เสี่ยงสูง ความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกไม่แน่นอน วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ความเครียดมีความสำคัญต่อสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมของผู้จะเป็นบิดา ผู้จะเป็นบิดาจะมีความเครียดเพิ่มมากขึ้นหากภรรยามีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นการตั้งครรภ์เสี่ยงสูง และจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล งานวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกไม่แน่นอน อายุ และการวางแผนการตั้งครรภ์กับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เลือกตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 85 ราย ที่มาเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่ ระหว่างเดือนกันยายน 2558 ถึง เดือน มกราคม 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความรู้สึกเครียด ของ Hansleben et al. (1983) ฉบับภาษาไทย โดย Wongpakaran& Wongpakaran (2010) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยาตั้งครรภ์เสี่ยง ของ Naewchalee (2007) และแบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนในการตั้งครรภ์เสี่ยง ของ Naewchalee (2007) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียลผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 68.20) มีความเครียดในระดับปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ย 17.08 (S.D. = 5.31) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 62.40) มีการสนับสนุนทางสังคมในระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ย 75.71 (S.D. = 11.31) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 68.20) มีความรู้สึกไม่แน่นอนในระดับปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ย 87.32 (S.D. = 18.34) การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= -.306, P < .01) ความรู้สึกไม่แน่นอนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .398, P < .01) การวางแผนการตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์ทางลบกับความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -.295, P < .05) ดังนั้นจากผลการวิจัยนี้ ผู้ปฏิบัติการพยาบาล/ผดุงครรภ์ ควรมีการประเมินเกี่ยวกับความรู้สึกไม่แน่นอนและการสนับสนุนทางสังคมของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับวางแผนการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ ในการลดความเครียดในผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 2020-04-02T14:46:51Z 2020-04-02T14:46:51Z 2562 พยาบาลสาร 46,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2562) 83-93 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230267/156746 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67494 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ผู้จะเป็นบิดา
ตั้งครรภ์เสี่ยงสูง
ความเครียด
การสนับสนุนทางสังคม
ความรู้สึกไม่แน่นอน
spellingShingle ผู้จะเป็นบิดา
ตั้งครรภ์เสี่ยงสูง
ความเครียด
การสนับสนุนทางสังคม
ความรู้สึกไม่แน่นอน
วราภรณ์ บุญยงค์
นันทพร แสนศิริพันธ์
ฉวี เบาทรวง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author วราภรณ์ บุญยงค์
นันทพร แสนศิริพันธ์
ฉวี เบาทรวง
author_facet วราภรณ์ บุญยงค์
นันทพร แสนศิริพันธ์
ฉวี เบาทรวง
author_sort วราภรณ์ บุญยงค์
title ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
title_short ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
title_full ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
title_fullStr ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
title_full_unstemmed ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
title_sort ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้จะเป็นบิดาที่ภรรยามีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230267/156746
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67494
_version_ 1681426645762703360