ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปิยวรา กาจารี, ฉวีวรรณ ธงชัย, มยุลี สำราญญาติ
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230342/156779
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67500
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67500
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-675002020-04-02T14:46:51Z ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก Effects of Comprehensive Discharge Planning From an Intensive Care Unit on Adverse Events and Intensive Care Unit Readmission ปิยวรา กาจารี ฉวีวรรณ ธงชัย มยุลี สำราญญาติ ผู้ป่วยวิกฤต การวางแผนจำหน่ายจากหอผู้ป่วยหนัก เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ การกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ผู้ป่วยหลังจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วยหนัก มีความเสี่ยงต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนักภายใน 72 ชั่วโมง เนื่องจากความรุนแรงของการเจ็บป่วยวิกฤตและความซับซ้อนของการดูแล การวิจัยแบบทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนักต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนักภายใน 72 ชั่วโมง กลุ่มตัวอย่างถูกคัดเลือกจากผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักทั่วไป โรงพยาบาลลำปาง ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 จำนวน 50 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม25 ราย และกลุ่มทดลอง 25 ราย จัดกลุ่มตัวอย่างให้มีความเคียงกันในด้านความรุนแรงของการเจ็บป่วยวิกฤตและลักษณะการจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วยหนัก กลุ่มทดลองได้รับการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ตามแผนการจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบสำหรับหอผู้ป่วยหนักที่พัฒนาโดย researcher et al., (2013) ภายใต้กรอบแนวคิดการวางแผนจำหน่ายของ Mckeehan (1981) และการทบทวนวรรณกรรมประกอบด้วย แผนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยวิกฤต การบริการดูแลผู้ป่วยวิกฤตภายหลังการจำหน่าย และการประสานความร่วมมือในการดูแลโดยพยาบาลวิกฤตผู้ทำหน้าที่วางแผนจำหน่ายในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการวางแผนจำหน่ายตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบสำหรับหอผู้ป่วยหนัก และแบบบันทึกผลลัพธ์ ซึ่งครอบคลุมแบบบันทึกเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนักภายใน 72 ชั่วโมงพัฒนาโดยผู้วิจัย ความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือวิจัย ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ แบบบันทึกผลลัพธ์ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1.0 ความเป็นไปได้และความเหมาะสมของแผนการจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบสำหรับหอผู้ป่วยหนัก พบว่าสามารถนำไปใช้ในหน่วยงานได้ การตรวจสอบความเชื่อมั่นของผู้วิจัยในการบันทึกผลลัพธ์กับพยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 1.0 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติทดสอบไค-สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม โดยปัญหาการหายใจ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) การติดเชื้อ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และการได้รับสารละลายมากเกินความจำเป็น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างสองกลุ่มสำหรับการกลับเข้ารักษาซ้ำหลังจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วยหนักภายใน 72 ชั่วโมงจากผลการศึกษาผู้วิจัยเสนอแนะว่า ควรมีการศึกษาผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนักต่อการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนักภายใน 72 ชั่วโมง ในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วยหนักก่อนเวลาอันควร เพื่อให้มีหลักฐานเพียงพอในการทบทวนวรรณกรรม และเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยวิกฤตต่อไป 2020-04-02T14:46:51Z 2020-04-02T14:46:51Z 2562 พยาบาลสาร 46,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2562) 138-148 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230342/156779 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67500 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ผู้ป่วยวิกฤต
การวางแผนจำหน่ายจากหอผู้ป่วยหนัก
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
การกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
spellingShingle ผู้ป่วยวิกฤต
การวางแผนจำหน่ายจากหอผู้ป่วยหนัก
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
การกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
ปิยวรา กาจารี
ฉวีวรรณ ธงชัย
มยุลี สำราญญาติ
ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author ปิยวรา กาจารี
ฉวีวรรณ ธงชัย
มยุลี สำราญญาติ
author_facet ปิยวรา กาจารี
ฉวีวรรณ ธงชัย
มยุลี สำราญญาติ
author_sort ปิยวรา กาจารี
title ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
title_short ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
title_full ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
title_fullStr ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
title_full_unstemmed ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
title_sort ผลของการวางแผนจำหน่ายอย่างสมบูรณ์แบบจากหอผู้ป่วยหนัก ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการกลับเข้ารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยหนัก
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230342/156779
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67500
_version_ 1681426646863708160