การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุเนตร สืบค้า, เจนจิรา ภูการณ์, นิภา นิพวงลา, โชติพงศ์ กาญจนประโชติ, สุมิตร เชื่อมชัยตระกูล
Language:Tha
Published: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/11.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68608
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68608
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic จุดคุ้มทุน
ระยะเวลาคืนทุน
การแปรรูปชา
spellingShingle จุดคุ้มทุน
ระยะเวลาคืนทุน
การแปรรูปชา
สุเนตร สืบค้า
เจนจิรา ภูการณ์
นิภา นิพวงลา
โชติพงศ์ กาญจนประโชติ
สุมิตร เชื่อมชัยตระกูล
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
author สุเนตร สืบค้า
เจนจิรา ภูการณ์
นิภา นิพวงลา
โชติพงศ์ กาญจนประโชติ
สุมิตร เชื่อมชัยตระกูล
author_facet สุเนตร สืบค้า
เจนจิรา ภูการณ์
นิภา นิพวงลา
โชติพงศ์ กาญจนประโชติ
สุมิตร เชื่อมชัยตระกูล
author_sort สุเนตร สืบค้า
title การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
title_short การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
title_full การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
title_fullStr การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
title_full_unstemmed การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
title_sort การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/11.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68608
_version_ 1681752656113041408
spelling th-cmuir.6653943832-686082020-05-20T04:41:48Z การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของการแปรรูปชาเขียวพันธุ์อัสสัมแบบดั้งเดิมระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม An Economic Analysis of Conventional var.Assamica Green Tea Processing in Small and Medium Enterprises (SME) สุเนตร สืบค้า เจนจิรา ภูการณ์ นิภา นิพวงลา โชติพงศ์ กาญจนประโชติ สุมิตร เชื่อมชัยตระกูล จุดคุ้มทุน ระยะเวลาคืนทุน การแปรรูปชา วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระแสการประกอบอาชีพอิสระกำลังเป็นที่นสนใจและน่ลงทุน การแปรรูปชก็เป็นหนึ่งในตัวลือกที่ดีในการประกอบธุรกิส่วนตัว งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการแปรรูปชาขียวพันธุ์อัสสัม (Camellia sinensis var. Assamica) ในจังหวัดเชียงราย โดยเก็บข้อมูลในเดือนธันวาคม 2561 การแปรรูปชาขียวใบอ่อน 1 ซ้ำ และชาเขียวใบแก่ 3 ซ้ำ และนำเสนอผลการวิเคราะห์ศรษฐศาสตร์วิศวกรรมเพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจดำเนินธุรกิจ เราพบว่ากระบวนการแปรรูปชาเขียวใบอ่อน หากใช้ใบชาเขียวสด 10.8 kg (76.70 + 0.59 %w.b.) จะได้ชาเขียวแห้ง 2.36 kg (6.66+0.26 %w.b.) คิดเป็นอัตราส่วน 5:1 ส่วนการแปรรูปชาเขียวใบแก่ หากใช้ใบชาแก่สด 12.67 kg (70.20 土 0.19 %พ.b.) จะได้ชาแก่แห้ง 4.25 kg (2.24 +0.13 %w.b.) คิดเป็นอัตราส่วน 3:1 ชาที่ผลิตจาก SME นี้มีสมบัติทางกายภาพดี โดยชาเขียวใบอ่อนมีสารโพลีฟืนอลมากกว่าชาแก่ ซึ่งแสดงว่าชาเขีขวใบอ่อนมีคุณภาพดีกว่าใบแก่แต่อย่างไรก็ตามความพึงพอใจในการดื่มชา ขึ้นอยู่กับความชอบ ความคุ้นชิน และอื่น ๆ การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ทำให้ทราบว่าการลงทุนแปรรูปชาเขียวใบอ่อนจะต้องมีเงินลงทุนครั้งแรก 935,000 บาท และประมาณ 985,000 ล้านบาท สำหรับชาเขียวใบแก่ ปริมาณการผลิตทั้งปีของชาเขียวใบอ่อนต่อชาเขียวใบแก่มีค่า 1 ต่อ 22 เนื่องจากชาเขียวใบอ่อนนั้นไม่สามารถผลิตได้ทุกวันเหมือนชาใบแก่ จากผลการวิจัยจึงสามารถสรุปได้ว่า ผู้ประกอบการใหม่ที่มีต้นทุนจำกัดควรลงทุนแปรรูปชาขียวใบแก่เพราะสามารถผลิตได้ตลอดทั้งปี ทำให้มีระยะเวลาคืนทุนสั้นกว่า หากภายหลังมีเงินทุนเพิ่มอาจขยายการแปรรูปชาเขียวใบอ่อนเพิ่มเติม The current issue of self-employed is becoming more interesting and attractive. A tea processing is one of the best options for freelance. Therefore, this research aims to study the processing of green tea; assam variety (Camellia sinensis var. Assamica) in Chiang rai, data were collected in Dec 2018 with young green tea production for 1 rep, and mature green tea for 3 rep. Data analysis also emphazied on the engineering economics analysis as a guideline for business decisions. We found that fresh young tea leaves of 10.8 kg (76.70 ± 0.59%w.b.) produced dried young tea of 2.36 kg (6.66 ± 0.26%w.b.) with the recovery ratio of 5:1. On the other hand, fresh mature tea leaves of 12.67 kg (70.20 ± 0.19%w.b.) produced dried mature tea of 4.25 kg (2.24 ± 0.13%w.b.) with the recovery ratio of 3:1. Good physical properties of these dried teas produced by this SME can be preserved. The phenolic compounds within those tea drinks showed that the amount of polyphenols in young tea drink was higher than that of in mature tea drink, indicated that young tea drink should be better in term of healthy than that of mature tea drink. However, the preference of tea drink is individual depending on the linking, preferness and so on. The economic analysis showed that the initial capital for young green tea processing was about 935,000 baht and for mature green tea was about 985,000 baht. Due to the young green tea cannot be produced every day like mature one, the annual production volume of young green tea over the mature one was a ratio of 1 to 22. From the findings, it can be concluded that new entrepreneurs with limited capital should invest on mature green tea as it can be produced throughout the year; resulted in a shorter payback period. If additional funds are available, the processing of young green tea can be extended. 2020-05-20T04:41:48Z 2020-05-20T04:41:48Z 2563 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 130-142 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/11.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68608 Tha คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่