การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2563_41_1_539.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68622 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68622 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
เจลฟอกสีฟัน ความแข็งผิวระดับจุลภาค ลักษณะ จุลสัณฐานวิทยา เจลข้าว ความหยาบผิว |
spellingShingle |
เจลฟอกสีฟัน ความแข็งผิวระดับจุลภาค ลักษณะ จุลสัณฐานวิทยา เจลข้าว ความหยาบผิว ณัฐกร กิติศรี ศิริพร โอโกโนกิ สาครรัตน์ คงขุนเทียน พิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์ การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
ณัฐกร กิติศรี ศิริพร โอโกโนกิ สาครรัตน์ คงขุนเทียน พิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์ |
author_facet |
ณัฐกร กิติศรี ศิริพร โอโกโนกิ สาครรัตน์ คงขุนเทียน พิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์ |
author_sort |
ณัฐกร กิติศรี |
title |
การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
title_short |
การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
title_full |
การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
title_fullStr |
การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
title_sort |
การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2563_41_1_539.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68622 |
_version_ |
1681752658715607040 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-686222020-05-20T04:41:49Z การศึกษาเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความแข็งผิวระดับจุลภาคและความหยาบของฟันมนุษย์ The Study of Rice Gel as Bleaching Carrier on Microhardness and Roughness of Human Tooth ณัฐกร กิติศรี ศิริพร โอโกโนกิ สาครรัตน์ คงขุนเทียน พิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์ เจลฟอกสีฟัน ความแข็งผิวระดับจุลภาค ลักษณะ จุลสัณฐานวิทยา เจลข้าว ความหยาบผิว เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: ศึกษาผลของเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันที่มีผลต่อความหยาบและความแข็งผิวระดับจุลภาคของฟันมนุษย์เปรียบเทียบกับเจลฟอกสีฟันทางการค้า วัสดุและวิธีการ: เตรียมตัวอย่างผิวเคลือบฟันมนุษย์จำนวน 84 ชิ้น แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม กลุ่มละ 12 ชิ้น สำหรับทดสอบกับเจลฟอกสีฟันชนิดต่างๆ ได้แก่ 1) เจลข้าวผสม สารฟอกสีฟันความเข้มข้นร้อยละ 10 2) เจลฟอกสีฟันทางการค้าความเข้มข้นร้อยละ 10 3) เจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันความเข้มข้นร้อยละ 20 4) เจลฟอกสีฟันทางการค้าความเข้มข้นร้อยละ 20 5) เจลฟอกสีฟันทางการค้าความเข้มข้นร้อยละ 35 เป็นกลุ่มควบคุมผลบวก 6) เจลข้าวเป็นกลุ่มควบคุมผลลบ 7) น้ำลายเทียมเป็นกลุ่มการรักษา หลอก วัดค่าความหยาบผิว ความแข็งแรงผิวระดับจุลภาคแบบวิกเกอร์และวิเคราะห์ลักษณะจุลสัณฐานวิทยาของพื้นผิวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดวิเคราะห์ค่าความหยาบผิวและความแข็งผิวระดับจุลภาคด้วยสถิติความแปรปรวนแบบทางเดียวที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา: ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าความหยาบผิวและค่าความแข็งผิวระดับจุลภาคในแต่ละกลุ่มทดลอง ส่วนลักษณะทางจุลสัณฐานวิทยาของพื้นผิวฟันพบว่ากลุ่มเจลฟอกสีฟันทางการค้า (กลุ่มที่ 2, 4 และ 5) ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงโดยพบลักษณะผิวไม่เรียบมีรูพรุนขนาดเล็กกระจายทั่วไป ขณะที่กลุ่มที่ฟอกด้วยเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟัน (กลุ่มที่ 1 และ 3) กลุ่มเจลข้าวที่ไม่ผสมสารฟอกสีฟัน (กลุ่มที่ 6) และกลุ่มน้ำลายเทียม (กลุ่มที่ 7) พบผิวฟันเรียบไม่มีรูพรุน สรุป: ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าความหยาบผิวและค่าความแข็งผิวระดับจุลภาคของฟันมนุษย์ระหว่างเจลข้าวผสมสารฟอกสีฟันและเจลฟอกสีฟันทางการค้า Objectives: The purpose of this study was to investigate the effects of rice gel with bleaching agents on human tooth roughness and microhardness compared with commercial bleaching gels. Methods: Eighty four human tooth samples were prepared and randomly divided in to 7 groups (N=12). The samples were bleached with 7 gels as follow : 1) 10% rice gel with bleaching agents 2) 10% commercial bleaching gel 3) 20% rice gel with bleaching agents 4) 20% commercial bleaching gel 5) 35% commercial bleaching gel as a positive control 6) rice gel as a negative control 7) artificial saliva as a placebo. Surface roughness, Vicker’s microhardness and scanning electron microscopy were tested. The average of surface roughness and Vicker’s microhardness were compared using the One-way ANOVA test (p<0.05). Results: No significant differences in surface roughness and Vicker’s microhardness among the groups was found. For surface morphology of the commercial bleaching gels (Groups 2, 4 and 5), the enamel surface textures showed partiallyetched surfaces with many shallow depressions, whereas the surface morphology of the rice gels with bleaching agents (Groups 1 and 3), the rice gel (Group 6) and the artificial saliva (Group 7) showed smooth and clear surfaces. Conclusions: No Significant differences in surface roughness and Vicker’s microhardness on human tooth was found between rice gel with bleaching agents and commercial bleaching gels. 2020-05-20T04:41:49Z 2020-05-20T04:41:49Z 2563 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 41,1 (ม.ค.-มี.ค. 2563) น.69-80 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2563_41_1_539.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68622 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |