การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/05.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68690 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68690 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การผลิตแบบเซลลูล่าร์ การจัดสมดุลการผลิต เทคนิค ECRS การผลิตแบบดึง การผลิตแบบไหลทีละชิ้น |
spellingShingle |
การผลิตแบบเซลลูล่าร์ การจัดสมดุลการผลิต เทคนิค ECRS การผลิตแบบดึง การผลิตแบบไหลทีละชิ้น อทิตยา มารศรี จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
description |
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
author |
อทิตยา มารศรี จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ |
author_facet |
อทิตยา มารศรี จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ |
author_sort |
อทิตยา มารศรี |
title |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
title_short |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
title_full |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
title_fullStr |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
title_full_unstemmed |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
title_sort |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง |
publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/05.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68690 |
_version_ |
1681752677768232960 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-686902020-05-20T04:41:51Z การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้พื้นที่การผลิตที่ลดลง Increasing Efficiency of Medical Device Production Under Reduced Space อทิตยา มารศรี จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ การผลิตแบบเซลลูล่าร์ การจัดสมดุลการผลิต เทคนิค ECRS การผลิตแบบดึง การผลิตแบบไหลทีละชิ้น วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเครื่องมือแพทย์ ภายใต้เงื่อนไขพื้นที่การผลิตที่ลดลงเกือบเท่าตัว โดยกำลังการผลิตจะต้องไม่ลดน้อยลงไปจากเดิมและยังคงสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้ำได้ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ AAA ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ส่วนหนึ่งของชุดบริจาคเกล็ดเลือด ใช้พื้นที่การผลิตทั้งหมด 219 ตารางเมตรมีสถานีการทำงานทั้งหมด 15 สถานี ใช้พนักงานผลิตเฉลี่ย 30 คน รอบเวลาการผลิตเท่ากับ 652 วินาที/ชิ้น หรือ 5.52 ชิ้น/คน/ชม. ทำการผลิตระบบผลักโดยทำการผลิตล่วงหน้า 1 วัน แบบเป็นงวด (Batch Production) ของกระบวนการประกอบย่อย 11 สถานี จากนั้นเก็บเป็นชิ้นงานระหว่างกระบวนการไว้ทั้งหมด ทำให้ใช้พื้นที่ในการผลิตและจัดเก็บค่อนข้างมาก ก่อนที่จะส่งให้กับกระบวนการประกอบหลักเป็นผู้ประกอบชิ้นส่วนย่อยทั้งหมดเข้าด้วยกัน และส่งให้กลุ่ม งานถัดไป โดยแนวทางการทำวิจัยผู้จัยคำนวณการโดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต ลดสถานีการทำงาน และปริมาณชิ้นงานระหว่างกระบวนการให้ได้สูงสุดเป็นหลัก ซึ่งวิธีการวิจัยเริ่มจากการศึกษาพื้นที่ที่ใช้ในแต่ละส่วนงาน เวลา และวิธีการทำงานของกระบวนการผลิตในปัจจุบัน จากนั้นวิเคราะห์งานที่ไม่เกิดมูลค่าและปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยเทคนิค ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify) หลังจากนั้นทำการศึกษาเวลามาตรฐานของแต่ละงานใหม่และลำดับก่อนหลังของการประกอบ เพื่อนำมาออกแบบการผลิตแบบเซลลูล่าร์ โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดสมดุลการผลิตการรวมงานของกระบวนการประกอบย่อยบางสถานีเข้ากับงานของกระบวนการประกอบหลัก และทำการผลิตในรูปแบบเซลลูล่าร์ 3 คนต่อ 1 เซลล์การทำงานประกอบ และกำหนดเวลามาตรฐานของการทำงานแบบเซลลูลาร์ โดยรูปแบบการผลิตจะถูกเปลี่ยนเป็นการทำงานในรูปแบบดึง โดยออกแบบให้เข้าใกล้การผลิตแบบไหลที่ละชิ้น ผลจากการปรับปรุงพบว่า พื้นที่ในการผลิตลดลงงาก 219 ตารางเมตร เหลือ 111 ตารางเมตร หรือลดลง49 เปอร์เซ็นต์ สถานีการทำงานลดลงจาก 15 สถานีเหลือ 10 สถานี ใช้พนักงานทำงานลดลงจาก 30 คน เหลือ 27 คนและรอบเวลาในการผลิตลดลงจาก 652 วินาที/ชิ้น เป็น 574 วินาที/ชิ้น หรือประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 5.52 ชิ้น/คน/ชม. หรือเพิ่มขึ้น 12 เปอร์ เซ็นต์ สำหรับพื้นที่ที่ลดได้ 108 ตารางเมตร จะใช้ในการรองรับสายการผลิตของผลิตภัณฑ์ใหม่ This research aims to increase the efficiency of medical device production under the condition that the production area is reduced, the production capacity must not be reduced from the current and can still meet the needs of customers. Currently, AAA products is a part of product use for donate platelets which use area for production total 219 square meters, 15 work stations, and 30 persons. The cycle time is 652 seconds / piece or 5.52 pieces / person/ hour. Production by Push system as Batch production of 11 sub assembly processes, then stored as a work in process before sending to the main assembly process to assembly all the sub units together and send to the next process. The research methodology starts from studying the current situation of production process about using areas, time and working methods then analyze the non-value work and improve the production process with the ECRS (Eliminate Combine Rearrange Simplify) technique. After that, time study and then set new standard time of each process and using precedence diagram to design a new production process to cell production by applying line balancing technique with combine and rearrange working process of some Sub assembly and Main assembly by using 3 persons/cell to produce AAA complete unit and set new standard time for cell assembly. Which these production process will be work as Pull system and we design to approach One-piece flow production. The result of the research showed Production area decreased from 219 square meters to 111 square meters or decreased 49 percent. Work stations decreased from 15 stations to 10 stations. Workers were reduced from 30 to 27 person and the Cycle time decreased from 652 seconds/ unit to 574 seconds / unit or production efficiency increase from 5.52 units / person / hour to 6.27 units/ person / hour or 12 percent increasing. For areas that can reduce 108 square meters will use to support the production line of new products. 2020-05-20T04:41:51Z 2020-05-20T04:41:51Z 2563 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 42-56 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/05.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68690 Tha คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |