การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: บัญญัติ วารินทร์ใหล, ปิติศานต์ กร้ำมาตร
Language:Tha
Published: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/13.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68696
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68696
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สะพานลอย
คอนกรีตเสริมเหล้ก
คาร์บอนไดออกไซด์
คาร์บอเนชัน
การทำนายอายุการใช้งาน
spellingShingle สะพานลอย
คอนกรีตเสริมเหล้ก
คาร์บอนไดออกไซด์
คาร์บอเนชัน
การทำนายอายุการใช้งาน
บัญญัติ วารินทร์ใหล
ปิติศานต์ กร้ำมาตร
การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
author บัญญัติ วารินทร์ใหล
ปิติศานต์ กร้ำมาตร
author_facet บัญญัติ วารินทร์ใหล
ปิติศานต์ กร้ำมาตร
author_sort บัญญัติ วารินทร์ใหล
title การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
title_short การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
title_full การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
title_fullStr การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
title_full_unstemmed การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
title_sort การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม
publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/13.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68696
_version_ 1681752678916423680
spelling th-cmuir.6653943832-686962020-05-20T04:41:51Z การทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างสะพานลอยที่ตั้งอยู่ในสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชันในจังหวัดนครปฐม Service life Prediction of Pedestrian Bridge Structures in Carbonation Environment in Nakhonpathom Province บัญญัติ วารินทร์ใหล ปิติศานต์ กร้ำมาตร สะพานลอย คอนกรีตเสริมเหล้ก คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอเนชัน การทำนายอายุการใช้งาน วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษานี้เป็นการตรวจสอบการเกิดคาร์บอเนชันของโครงสร้างสะพานลอยคอนกรีตเสริมเหล็กในเขตชุมชนขังหวัดนครปฐม โดยทำการวัดระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมของโครงสร้างสะพานลอย วัดความเข้มข้นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความชื้นสัมพัทธ์ของสิ่งแวดล้อมพร้อมเจาะเก็บชิ้นตัวอย่างเพื่อทดสอบความลึกคาร์บอเนชันของโครงสร้างสะพานลอยทั้งหมด 3 อำเภอในจังหวัดนครปฐม คืออำเภอกำแพงแสน อำเภอเมืองนครปฐม และอำเภอนครชัยศรื ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์การเกิดคาร์บอนชันและทำนายอายุของโครงสร้างสะพานลอยโดยใช้สมการของ Fick's first law of diffiusion และมาตรฐานการออกแบบความคงทนสำหรับโครงสร้างที่เผชิญคาร์บอเนชันของกรมโยธาธิการและผังเมือง (มยผ.) ผลการศึกษาพบว่า ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมของโครงสร้างสะพานลอยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 49.75 ถึง 55.73 มิลลิเมตร ส่วนระยะคาร์บอนชันเฉลี่ยของโครงสร้างสะพานลอย มีค่าอยู่ระหว่าง 19.20 ถึง 31.40 มิลลิเมตร และสัมประสิทธิ์ความลึกคาร์บอเนชันมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 493 ถึง 839 มิลลิเมตร/ปี 1/2 โดยพื้นที่ในเขตชุมชนจังหวัดนครปฐมมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์และความชื้นสัมพัทธ์ของสิ่งแวดส้อมอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากคาร์บอเนชันในระดับรุนแรง นอกจากนี้พบว่า อัตราการเกิดคาร์บอเนชันของโครงสร้างสะพานลอยที่มีตำแหน่งที่ตั้งในเขตอำเภอเมืองนครปฐมสูงกว่าของเขตอำเภอนครชัยศรีและอำเภอกำแพงแสน สุดท้ายด้วยวีธีการตามสมการ Fick's first law of diffusion และมาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง สามารถทำนายและคำนวณอายุการใช้งานของโครงสร้างที่สัมผัสกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยผลที่ได้สามารถนำไปใช้ในการออกแบบวางแผนดูแลบำรุงรักษาโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่ต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมคาร์บอเนชัน ตลอดจนป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ This study was an investigation on the carbonation depth of pedestrian bridge structures (PDS) in community area of Nakhonpathom province. Cover thickness of PDS, carbon dioxide (CO2) concentration and relative humidity ( RH) of the environment and carbonation depth of PDS were measured. In this study, the PDS were selected in 3 districts of Nakhonpathom province, namely Kamphaengsaen district, Mueang district and Nakhon Chai Si district. The study results were analyzed the occurrence and the effect on the carbonation depth of PDS. The predict for free service life of PDS in both by Fick's first law of diffusion equation and durability design of carbonation structure of Department of Public Works and Town & Country Planning were considered. The results indicated that the average of the cover thickness of PDS, the average of the carbonation depth of PDS and the average of the carbonation coefficient of PDS were 49.75-55.73 mm, 19.20-31.40 mm and 4.93-8.39 mm/year0.5 , respectively. Nakhonpathom community area having a high amount of CO2 and RH of the environment was at risk of severe deterioration due to carbonation. Moreover, the rate of carbonation depth of PDS located in Mueang district was higher than that of Kamphaengsaen district and Nakhon Chai Si district, respectively. Finally, the proposed method to Fick's first law of diffusion equation and durability design of carbonation structure of Department of Public Works and Town & Country Planning can predict and calculate the free service life of the PDS exposed to CO2, the result can be used in the design, planning and maintenance of reinforced concrete structures faced by the carbonation environment as well as preventing damage that will occur in the future. 2020-05-20T04:41:51Z 2020-05-20T04:41:51Z 2563 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 160-172 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/13.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68696 Tha คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่