พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุกัญญา บัวศรี, กมลทิพย์ ทิพย์สังวาลย์, อนงค์ สุนทรานนท์
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241747/164569
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68757
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68757
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การเข้าถึงแหล่งอาหาร
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การกินผักและผลไม้
เด็กวัยเรียน
spellingShingle การเข้าถึงแหล่งอาหาร
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การกินผักและผลไม้
เด็กวัยเรียน
สุกัญญา บัวศรี
กมลทิพย์ ทิพย์สังวาลย์
อนงค์ สุนทรานนท์
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author สุกัญญา บัวศรี
กมลทิพย์ ทิพย์สังวาลย์
อนงค์ สุนทรานนท์
author_facet สุกัญญา บัวศรี
กมลทิพย์ ทิพย์สังวาลย์
อนงค์ สุนทรานนท์
author_sort สุกัญญา บัวศรี
title พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
title_short พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
title_full พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
title_fullStr พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
title_full_unstemmed พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
title_sort พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241747/164569
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68757
_version_ 1681752689949540352
spelling th-cmuir.6653943832-687572020-06-10T07:12:28Z พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย Food Consumption Behaviors, Fruits and Vegetables Among School-aged Children in Chiang Rai Province สุกัญญา บัวศรี กมลทิพย์ ทิพย์สังวาลย์ อนงค์ สุนทรานนท์ การเข้าถึงแหล่งอาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การกินผักและผลไม้ เด็กวัยเรียน วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม การรับประทานผักและผลไม้อย่างเพียงพอ และการเข้าถึงแหล่งอาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อภาวะโภชนาการ และสุขภาวะที่ดีของเด็กวัยเรียน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำรวจการเข้าถึงแหล่งอาหารและศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ผักและผลไม้ ของเด็กวัยเรียนในจังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนในสังกัดสำนักงานประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 1,467 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ด้วยเครื่องมือวัดพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับประทานผักและผลไม้โดยวัดความถี่อาหารบริโภคกึ่งปริมาณ (Semi-food frequency questionnaire, semi-FFQ) ค่าระดับความเชื่อมั่นของเครื่องมือ เท่ากับ .96 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ1อยู่นอกเขตเทศบาล แหล่งจำหน่ายอาหารที่เข้าถึงได้ง่ายมากที่สุดคือ ร้านค้าในชุมชน และแหล่งที่มาของอาหารมื้อหลัก คือ ตลาดสด นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารในความถี่และปริมาณมาก ดังนี้ อาหารที่มีน้ำตาลสูง ได้แก่ ขนมหวานทำจากไข่แดง ร้อยละ 16.0 และ เครื่องดื่มรสหวานชงขาย ร้อยละ 14.2 อาหารที่มีโซเดียมสูง ได้แก่ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ร้อยละ 45.9 และเนื้อสัตว์แปรรูป ร้อยละ 40.1 อาหารที่มีไขมันสูง ได้แก่ ไข่ดาว ร้อยละ 51.0 ไข่เจียว ร้อยละ 50.1 และหมูทอด เนื้อทอด ปลาทอด ร้อยละ 49.6 อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง ได้แก่ ไอศกรีมกะทิหรือไอศกรีมนม ร้อยละ 38.6 อาหารที่มีไขมัน น้ำตาลและโซเดียมสูง ได้แก่ ขนมกรุบกรอบ ร้อยละ 60.4 และอาหารฟาสต์ฟู้ด ร้อยละ 12.8 การรับประทานผักและผลไม้พบว่า นักเรียนมีพฤติกรรมการรับประทานในความถี่และปริมาณมาก ได้แก่ ผักใบปรุงสุกมากที่สุด ร้อยละ 34.0 รองลงมาเป็นผักใช้ผล หัว ราก เช่น มะเขือเทศ แครอท ฟักทอง ร้อยละ 26.8 และผักใบเขียวสดไม่ผ่านการปรุงสุกน้อยที่สุด ร้อยละ 10.9 ผลไม้ตามฤดูกาล เช่น เงาะ มังคุด ส้มเขียวหวาน ร้อยละ 28.7 และผลไม้ท้องถิ่น เช่น มะละกอ กล้วยน้ำว้า กล้วยหอม ร้อยละ 23.4 ผลการวิจัยนี้จะเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนพัฒนานโยบาย และโครงการต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และให้เกิดสุขภาวะที่ดีของเด็กวัยเรียนต่อไป Appropriate food consumption behaviors, eating enough fruits and vegetables, and access to food sources are important factors to nutritional status and well-being of school-age children. This research aimed to explore food sources and eating vegetables and fruits of school-age children in Chiang Rai Province. The samples were 1,467 students under Chiang Rai Provincial Primary Education Office. They studied in 1st semester academic year 2018. Stratified random sampling was used to collect data. Data were collected by a food consumption behavior, eating vegetable and fruit tool (semi-Food Frequency Questionnaire; semi-FFQ). The reliability of the instruments was .96. Data were analyzed using descriptive statistics. The results revealed that: 54.1 percent of the samples were outside the municipality. Food sources that were most easily accessible were community stores. Additionally, the sources of main food were markets. Students had food consumption behaviors in high frequencies and quantities as follows: High-sugar foods such as desserts that made from egg yolks as 16.0% and sweet-brewed beverages as 14.2%. High-sodium foods were instant noodles as 45.9% and processed meat as 40.1%. High-fat foods were fried eggs as 51.0%, omelets as 50.1%, and fried porks, fried meats and fried fishes 49.6%. High fat and sugar were coconut milk or milk ice creams 38.6%. High fat, sugar and sodium foods were crunchy snacks 60.4% and fast foods 12.8%. Eating vegetables and fruits found that students had eating behaviors in high frequencies and quantities as follows: The most were cooked vegetables 34.0%. The followings were vegetables used with fruits, tubers, and roots such as tomatoes, carrots and pumpkins 26.8%. Seasonal fruits such as rambutans, mangosteens, and oranges were 28.7%, and local fruits such as papayas and bananas were 23.4%. The results of this study will be important information in planning and developing policies and various projects for students in order to have nutritional status according to the criteria and continue to achieve well-being. 2020-06-10T07:12:28Z 2020-06-10T07:12:28Z 2563 พยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 24-36 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241747/164569 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68757 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่