การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241754/164573 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68763 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68763 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การมีส่วนร่วมของชุมชน การพัฒนารูปแบบการดูแล ผู้ที่เป็นเบาหวาน |
spellingShingle |
การมีส่วนร่วมของชุมชน การพัฒนารูปแบบการดูแล ผู้ที่เป็นเบาหวาน จุฑาพงศ์ เตชะสืบ วราภรณ์ บุญเชียง รังสิยา นารินทร์ การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
จุฑาพงศ์ เตชะสืบ วราภรณ์ บุญเชียง รังสิยา นารินทร์ |
author_facet |
จุฑาพงศ์ เตชะสืบ วราภรณ์ บุญเชียง รังสิยา นารินทร์ |
author_sort |
จุฑาพงศ์ เตชะสืบ |
title |
การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_short |
การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_full |
การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_fullStr |
การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_full_unstemmed |
การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
title_sort |
การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241754/164573 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68763 |
_version_ |
1681752691040059392 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-687632020-06-10T07:12:28Z การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน Development of a Community Participation Caring Model for People with Diabetes Mellitus จุฑาพงศ์ เตชะสืบ วราภรณ์ บุญเชียง รังสิยา นารินทร์ การมีส่วนร่วมของชุมชน การพัฒนารูปแบบการดูแล ผู้ที่เป็นเบาหวาน วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การศึกษาวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ที่เป็นเบาหวานโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน และศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบฯในด้านความรู้และการปฏิบัติตัวของผู้ที่เป็นเบาหวาน โดยใช้กรอบแนวคิดการมีส่วนร่วมของ Cohen&Uphoff (1977)การดำเนินการมี 3 ระยะ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สถานการณ์ ระยะที่ 2 ดำเนินการตามรูปแบบที่พัฒนาในระยะที่ 1 และระยะที่ 3 ประเมินผลการดำเนินงาน งานวิจัยนี้ใช้การคัดเลือกแบบเจาะจงทั้ง 3 ระยะ กลุ่มตัวอย่างในประกอบด้วยผู้มีส่วนร่วม 4 กลุ่ม โดยใน 4 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้ที่เป็นเบาหวาน ผู้ดูแลผู้ที่เป็นเบาหวาน พยาบาล เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธรณสุข และเจ้าหน้าที่เทศบาลจำนวน 33 คน ระยะที่ 2 และ 3 ประกอบด้วยผู้ที่เป็นเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และสนใจเข้าร่วมการดำเนินการ โดยกำหนดจากขนาดอิทธิพล เท่ากับ .50 จากนั้นกำหยนดตารางสำเร็จรูปที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 22 คน ผู้วิจัยได้พิจารณาเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20 เพื่อป้องกันการสูญหายของกลุ่มตัวอย่าง รวม 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน แบบวัดการการปฏิบัติตัวของผู้ที่เป็นเบาหวาน รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานโดยอาศัยการมีส่วนร่วม แนวคำถามเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ดูแลผู้ที่เป็นเบาหวาน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และคู่มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ที่เป็นเบาหวานโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน พบว่า 1) รูปแบบฯ ประกอบด้วยการอบรม เรื่อง โรคเบาหวาน การปฏิบัติตัวฯ การเยี่ยมบ้านฯโดยทีมสุขภาพ และคู่มือการดูแลตนเองฯ 2) ประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลผู้ที่เป็นเบาหวานโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน พบว่า ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นร้อยละ 74.0 และการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.4 การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนส่งผลให้ผู้ มีความรู้และมีการปฏิบัติตนดีขึ้น ดังนั้น ควรนำแนวทางการพัฒนารูปแบบฯ ไปใช้ในการส่งเสริมให้ผู้ที่เป็นเบาหวานดูแลตนเองและมีการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนและอันตรายจากโรคเบาหวานในชุมชนต่อไป This developmental research study aimed to develop a community participation caring model for peoples with diabetes mellitus and to study the effectiveness of this model for peoples with diabetes mellitus in terms of knowledge about the disease and their practice. The community participation concept developed by Cohen and Uphoff (1977) was used in this study which includes three phases. the first phase was situational analysis, the second phase was Implementation that develop in the first phase and the third phase was evaluated of the intervention. The study used purposive sampling to select all the participants who have diabetes mellitus. Sample had 4 groups who participated were composed of people with diabetes mellitus, Care givers, nurses, primary care unit personal, health volunteer and municipality personal total 33 person. This sample size was identified from the effect size at 0.50 the level of statistical significance at .05. The researcher considered increasing the sample size by 20% for the loss. There was a total of twenty-seven participants who were included in the study. The instrument in this research study included: knowledge of diabetes mellitus, self-care practice measures, a community participation caring model, the guideline questions for assessment and analyzing for people with diabetes mellitus, , primary care unit personals, health volunteers, care givers, and a self-care guideline book for people with diabetes mellitus. The results of developing a community participation caring model for peoples with diabetes mellitus were as follows: 1) A community participation caring model, self-care practice, home visits by a home health care team, and guideline book for people with diabetes mellitus. 2) The effectiveness of a community participation caring model for peoples with diabetes mellitus showed that a level of knowledge after following the community participation caring model for peoples with diabetes mellitus, 74% of the participants increased their knowledge about diabetes mellitus; and a level of practice about self-care after following the community participation caring model for peoples with diabetes mellitus, 70.4% of the participants increased their self-care practice. The development of a community participation caring model for peoples with diabetes mellitus would increase their knowledge and their self-care practice. Therefore, the guidelines of a development of a community participant caring model for peoples with diabetes mellitus could be applied to promote self-care and practice among people with diabetes mellitus in a community for the prevention. 2020-06-10T07:12:28Z 2020-06-10T07:12:28Z 2563 พยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 111-121 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241754/164573 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68763 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |