การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ณริศรา พสุวรวัฒนกุล, วราภรณ์ บุญเชียง, ศิวพร อึ้งวัฒนา
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241751/164572
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68765
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68765
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การพัฒนาชุดความรู้
การจัดอาหารไทยภาคเหนือ
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
spellingShingle การพัฒนาชุดความรู้
การจัดอาหารไทยภาคเหนือ
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
ณริศรา พสุวรวัฒนกุล
วราภรณ์ บุญเชียง
ศิวพร อึ้งวัฒนา
การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author ณริศรา พสุวรวัฒนกุล
วราภรณ์ บุญเชียง
ศิวพร อึ้งวัฒนา
author_facet ณริศรา พสุวรวัฒนกุล
วราภรณ์ บุญเชียง
ศิวพร อึ้งวัฒนา
author_sort ณริศรา พสุวรวัฒนกุล
title การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
title_short การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
title_full การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
title_fullStr การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
title_full_unstemmed การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
title_sort การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241751/164572
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68765
_version_ 1681752691400769536
spelling th-cmuir.6653943832-687652020-06-10T07:12:28Z การพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน Development of Northern Thai Food Preparation Knowledge Package for Persons with Diabetes Mellitus ณริศรา พสุวรวัฒนกุล วราภรณ์ บุญเชียง ศิวพร อึ้งวัฒนา การพัฒนาชุดความรู้ การจัดอาหารไทยภาคเหนือ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การควบคุมอาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน และเปรียบเทียบคะแนนความรู้ก่อนและหลังการใช้ชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน โดยใช้หลักการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของ Kolb (1984) ได้แก่ การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ร่วมกับการใช้กระบวนการกลุ่ม แบ่งการศึกษาแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะวิเคราะห์สถานการณ์ ระยะดำเนินการ และระยะประเมินผล ผู้เข้าร่วมการศึกษาเป็นกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ในระยะวิเคราะห์สถานการณ์ มีกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 16 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขผู้เชี่ยวชาญโรคเบาหวาน จำนวน 8 ราย และผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน จำนวน 8 ราย สำหรับระยะดำเนินการและระยะประเมินผล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน จำนวน 32 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แนวสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แนวคำถามในการสนทนากลุ่ม แบบสอบถามความเป็นไปได้ของการใช้ชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน แบบประเมินความรู้ในจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน และชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ประกอบด้วย 1) รายการอาหารไทยภาคเหนือ และ 2) สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ คู่มือ “เมนูสุขภาพบำบัดเบาหวานด้วยอาหารพื้นเมือง” ผลการวิจัย พบว่า เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานก่อนและหลังการใช้ชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 1 เดือน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p<.05) โดยคะแนนความรู้ภายหลังการนำชุดความรู้ฯ ไปใช้สูงกว่าก่อนการนำชุดความรู้ฯ ไปใช้ และผลของความเป็นไปได้ของการใช้ชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ภายหลังจากผู้ที่เป็นโรคเบาหวานได้นำชุดความรู้ในการจัดอาหารไทยภาคเหนือไปทดลองใช้ 1 เดือน พบว่า ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีความคิดเห็นว่า ชุดความรู้ฯ สามารถนำไปใช้ได้ง่าย อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 87.5 ชุดความรู้ฯ มีความชัดเจนของเนื้อหาในด้านปริมาณ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 90.6 ด้านการเลือกซื้อ ด้านการปรุง และด้านความถี่ อยู่ในระดับมากอย่างละเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 87.5 ชุดความรู้ฯ มีความเหมาะสมที่จะให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานนำไปใช้ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 90.6 ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่จะนำชุดความรู้ฯไปใช้สามารถซื้อหรือจัดหาเพื่อนำมาใช้ในการจัดอาหารได้ คิดเป็นร้อยละ 81.3 และชุดความรู้ฯ มีความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ในทางปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 87.5 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้สามารถนำชุดความรู้ฯ ไปพัฒนาและใช้ดำเนินการต่อในชุมชนที่มีบริบทใกล้เคียงกันในภาคเหนือ Dietary management is the most significant method to control blood sugar level for people with diabetes. The aims of this research and development were to develop Northern Thai food preparation knowledge package for persons with diabetes mellitus; to assess possibility to apply Northern Thai food knowledge package to persons with Diabetes Mellitus; and to compare knowledge test scores before and after using knowledge package for persons with diabetes mellitus based on a participatory model (Kolb, 1984). The concept of participatory learning is an experiential learning and group process. The research divided into three phases: situation analysis; Implement; and evaluation phase. The samples were selected based on purposive sampling. In the situation analysis phase, 16 selected samples were divided into two groups included eight village health volunteers who specialized in Diabetes Mellitus and eight persons with Diabetes Mellitus, and thirty-two persons with Diabetes Mellitus on operation and evaluation phase. The study instruments included the following parts: general questionnaire, structured interview questionnaire, group discussion questionnaire, possibility to apply Northern Thai food knowledge package to persons with diabetes mellitus questionnaire, Northern Thai food management for persons with diabetes mellitus evaluation form, and Northern Thai food preparation knowledge package for persons with diabetes mellitus including Northern Thai food recipes and guide book “Healthy Diabetes local food recipes”. The result of this study showed that: The comparison of the knowledge of persons with diabetes mellitus one month before and after using the Northern Thai Food Preparation Knowledge Package. After using the knowledge package, statistical significance was found (p<.05), more than before using the knowledge package. The result of assessing the possibility to apply the Northern Thai food knowledge package to persons with Diabetes Mellitus after one-month usage, showed that a high proportion (87.5%) of the persons with diabetes mellitus comment that the knowledge package was easy to use. They also report the following, with the figures very favourable to the study: 90.6% for content clarity, 87.5% for cooking and frequency, 90.6% for appropriate application, 81.3% for food purchase and supply and preparation, and 87.5% for the possibility of applying in practice. Suggestions for this followed: the knowledge package can be developed and apply to communities in the Northern part of Thailand. 2020-06-10T07:12:28Z 2020-06-10T07:12:28Z 2563 พยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 98-110 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241751/164572 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68765 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่