ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241818/164601 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68785 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68785 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พฤติกรรมสุขภาพ ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
spellingShingle |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พฤติกรรมสุขภาพ ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว ณัฐวุฒิ บุญสนธิ ประทุม สร้อยงค์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
ณัฐวุฒิ บุญสนธิ ประทุม สร้อยงค์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_facet |
ณัฐวุฒิ บุญสนธิ ประทุม สร้อยงค์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_sort |
ณัฐวุฒิ บุญสนธิ |
title |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
title_short |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
title_full |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
title_fullStr |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
title_sort |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241818/164601 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68785 |
_version_ |
1681752695120068608 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-687852020-06-10T07:12:30Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว Factors Related to Health Behaviors Among Persons with Transient Ischemic Attack ณัฐวุฒิ บุญสนธิ ประทุม สร้อยงค์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พฤติกรรมสุขภาพ ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราวมีโอกาสที่จะเกิดโรคหลอดเลือดสมองที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราวควรปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาหาความสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว ที่มารับการรักษา ณ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลสระบุรี จำนวน 86 ราย ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว 2) แบบสอบถามการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดสมอง 3) แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง 4) แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และ 5) แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือวิจัยพัฒนาโดยผู้วิจัย ผ่านการตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญและผ่านการตรวจสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือก่อนเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับสเปียร์แมน ผลการวิจัย พบว่า 1. พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 40.70 ระดับต่ำร้อยละ 37.21และระดับสูงร้อยละ 22.09 ตามลำดับ 2. พฤติกรรมสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (rs = - 0.25, p < .05) มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ (rs = 0.36, p < .01) มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ (rs = - 0.36, p < .01) แต่อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพกับการรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง ผลการวิจัยครั้งนี้ยืนยันความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพตามกรอบแนวคิดของเบคเกอร์ (Becker, 1974) ในส่วนของการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ แต่ไม่พบในส่วนของการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และการรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง ในการวิจัยครั้งต่อไปควรมีการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว โดยลดอุปสรรคที่ทำไม่สามารถปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ กิจกรรมดังกล่าวควรปรับให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว Persons with transient ischemic attack (TIA) are more likely to experience a severe stroke. Therefore, these people with TIA should follow an appropriate healthy behavior. This descriptive correlational study aimed to explore the relationship between factors, which included perceived susceptibility to stroke, perceived seriousness to stroke, perceived benefits of performing health behavior, perceived barriers of performing health behavior, and health behavior among persons with TIA. The sample included eighty-six persons with TIA attending the outpatient clinic at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital and Saraburi Hospital from July to September 2016. Research instruments consisted of: 1) The Health Behaviors Among Persons with Transient Ischemic Attack Questionnaire, 2) the Perceived Susceptibility to Stroke Questionnaire, 3) the Perceived Seriousness to Stroke Questionnaire, 4) the Perceived Benefits of Performing Health Behavior Questionnaire, and 5) the Perceived Barriers of Performing Health Behavior Questionnaire. All instruments were developed by researcher. Content validity of instruments was approved by experts in the field and reliability was tested prior to collecting data. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s Rank Correlation. Results revealed that: 1. The health behaviors of samples were at a moderate level (40.70%), low level (37.21%), and high level (22.09 %). 2. Health behavior was statistically significant low negative associated with perceived susceptibility to stroke (rs = - 0.25, p < .05); significant moderate positive associated with perceived benefits of performing health behavior (rs = 0.36, p < .01); significant moderate negative associated with perceived barriers of performing health behavior (rs = - 0.36, p < .01). However, there was no association between health behaviors and perceived seriousness to stroke. The results of this study confirm the relationships between health behavior and factors based on a framework proposed by Becker (1974) in recognition of the perceived benefits of performing health behaviors and perceived barriers of performing health behaviors, but was inconsistent in perceived susceptibility to stroke and perceived seriousness to stroke. Further study should develop a care model for persons with TIA by reducing barriers of performing health behavior in order to perform an appropriate and consistent health behavior. These activities should be adapted to the lifestyles of persons with TIA. 2020-06-10T07:12:30Z 2020-06-10T07:12:30Z 2563 พยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 262-273 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241818/164601 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68785 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |