การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241833/164615 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68790 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68790 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การประยุกต์แนวคิดลีน กระบวนการจำหน่าย ผู้ป่วยทารกแรกเกิด |
spellingShingle |
การประยุกต์แนวคิดลีน กระบวนการจำหน่าย ผู้ป่วยทารกแรกเกิด พุทธสิริ เชื้อสกุล ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ อรอนงค์ วิชัยคำ การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
พุทธสิริ เชื้อสกุล ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ อรอนงค์ วิชัยคำ |
author_facet |
พุทธสิริ เชื้อสกุล ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ อรอนงค์ วิชัยคำ |
author_sort |
พุทธสิริ เชื้อสกุล |
title |
การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
title_short |
การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
title_full |
การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
title_fullStr |
การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
title_full_unstemmed |
การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
title_sort |
การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241833/164615 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68790 |
_version_ |
1681752696044912640 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-687902020-06-10T07:12:30Z การประยุกต์แนวคิดลีนในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก Applying Lean Thinking to Improve Discharge Process for Sick Newborn Babies, Pediatric Ward 3, Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital พุทธสิริ เชื้อสกุล ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ อรอนงค์ วิชัยคำ การประยุกต์แนวคิดลีน กระบวนการจำหน่าย ผู้ป่วยทารกแรกเกิด วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การปรับปรุงกระบวนการให้บริการโดยใช้แนวคิดลีนทำให้การบริการแก่ผู้รับบริการมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก โดยใช้แนวคิดลีน ของ Womack & Jones (2003) ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจำหน่ายผู้ป่วยทารกแรกเกิดจำนวน 20 คน และกิจกรรมการจำหน่ายผู้ป่วยทารกแรกเกิดในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 ระหว่าง เดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1) ตารางอธิบายลักษณะกิจกรรมของกระบวนการจำหน่าย 2) แบบฟอร์มการระบุคุณค่าของกิจกรรม 3) แบบบันทึกเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมการจำหน่าย และ4) แนวคำถามการประชุมกลุ่มเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการจำหน่าย โดยเครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน และได้ทดสอบความเที่ยงของแบบการสังเกตจากผู้สังเกต 2 คน(inter-rater)ในการบันทึกเวลาเท่ากับ 1.0 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า 1.กระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 หลังจากปรับปรุงโดยใช้แนวคิดลีนประกอบด้วย 5 กิจกรรมหลักและ 15 กิจกรรมย่อย ซึ่งลดลงจากกระบวนการก่อนการปรับปรุงที่มีทั้งหมด 23 กิจกรรมย่อย 2.เวลามาตรฐานที่ใช้ในกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม3 ที่ปรับปรุงโดยใช้แนวคิดลีนเท่ากับ 43.47 นาที ซึ่งลดลงจากเวลามาตรฐานก่อนการปรับปรุงกระบวนการซึ่งเท่ากับ 135.02 นาที 3.ปัญหาการของการประยุกต์แนวคิดลีนในกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 ได้แก่ 1) การรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดลีนของบุคลากรแตกต่างกัน 2) คอมพิวเตอร์เก่าและโปรแกรมการใช้งานไม่เสถียร 3) กระบวนการที่ลีนบางอย่างมีความยากในการปฏิบัติในขณะที่มีภาระงานมาก และข้อเสนอแนะได้แก่ จัดทำแผนพัฒนาความรู้เกี่ยวกับแนวคิดลีนแก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง เสนอให้ผู้บริหารรับทราบเกี่ยวกับปัญหาของคอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ใช้งาน และจัดอัตรากำลังบุคลากรให้เหมาะสมกับภาระงาน ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การปรับปรุงกระบวนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิดโดยประยุกต์แนวคิดลีน สามารถลดกิจกรรมและระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้บริหารสามารถนำผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการบริการของกิจกรรมบริการอื่นๆ ในองค์กรต่อไป Improving the service process by using Lean thinking of Womack and Jones (2003) can provide efficient and fast service to consumers. The purpose of this independent study was to improve the discharge process for sick newborn babies in Pediatric Ward 3, Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital, by using Lean Thinking. The sample of this study included 20 personnel and discharge activities of the sick newborn baby from July to October 2017. The research instruments included: 1) a table for describing the activities of the discharge process, 2) a form for value analysis of discharge activity, 3) a record form for time spent on discharge activity 4) the focus group interview guidelines regarding problems and recommendations. These research instruments were validated by three experts. The inter-rater reliability of two observers for time recording was 1.0. The data was analyzed using descriptive statistics. The results revealed that: 1.The patient discharge process for sick newborn babies improvement applying Lean thinking in Pediatric Ward 3 consisted of 5 major activities and 15 minor activities which is reduced from the original 23 minor activities for the process before improvement. 2.The standard time of the improved patient discharge process for sick newborn babies applying Lean thinking in Pediatric Ward 3 was 43.47 minutes which is reduced from the original standard time of 135.02 minutes for the process before improvement. 3.The problems of applying Lean Thinking to improve discharge process for sick newborn babies in Pediatric Ward 3 include: 1) the different perceptions and understandings of Lean Thinking among personnel 2) the computer was old and the software program was not stable 3) some of the step of the Lean process were difficult to do when the workload was high. The recommendations included the continuous development of a plan to educate personnel about Lean Thinking, notifying the administrator about the computer and software program problems, and assigning the staff to match the workload. The results of this study revealed that the improvement of the discharge process for sick newborn babies by applying Lean thinking can reduce the activities and time spent on the process. Therefore, administrators can use the results of the study as a guideline to improve the other service process in the organization. 2020-06-10T07:12:30Z 2020-06-10T07:12:30Z 2563 พยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 427-439 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241833/164615 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68790 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |