ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์, บุษกร จันทร์จรมานิตย์
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240722/164051
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68798
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68798
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ความพร้อมสำหรับการจำหน่าย
คุณภาพการสอน
การประสานการดูแล
มารดาหลังคลอด
spellingShingle การจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ความพร้อมสำหรับการจำหน่าย
คุณภาพการสอน
การประสานการดูแล
มารดาหลังคลอด
ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์
กรรณิการ์ กันธะรักษา
เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์
บุษกร จันทร์จรมานิตย์
ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์
กรรณิการ์ กันธะรักษา
เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์
บุษกร จันทร์จรมานิตย์
author_facet ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์
กรรณิการ์ กันธะรักษา
เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์
บุษกร จันทร์จรมานิตย์
author_sort ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์
title ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
title_short ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
title_full ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
title_fullStr ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
title_sort ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240722/164051
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68798
_version_ 1681752697569542144
spelling th-cmuir.6653943832-687982020-06-10T07:12:30Z ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์ กรรณิการ์ กันธะรักษา เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์ บุษกร จันทร์จรมานิตย์ การจำหน่ายจากโรงพยาบาล ความพร้อมสำหรับการจำหน่าย คุณภาพการสอน การประสานการดูแล มารดาหลังคลอด วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ Readiness for hospital discharge is necessary for postpartum mothers. This helps mothers effectively face with physical, mental, and adaptive changes in the postpartum period. The purpose of this predictive correlational research study was to explore readiness for hospital discharge and the predicting factors of readiness for hospital discharge among postpartum mothers. The subjects were 80 mothers who gave birth and stay in the postpartum care unit at Maharaj Nakorn Chaing Mai or Nakornping Hospitals from January to August 2016. The participants were criteria selected. The assessment tools were the readiness for hospital discharge ความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้มารดาหลังคลอดสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และการปรับตัวในระยะหลังคลอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาที่เข้ารับการดูแลในหน่วยหลังคลอด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 จำนวน 80 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล แบบวัดคุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจำหน่าย และแบบสอบถามการประสานการดูแลก่อนจำหน่าย ทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อัลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .96 .97 และ .97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1.มารดาหลังคลอด ร้อยละ 65.00 รับรู้เกี่ยวกับความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 193.08 (S.D. = 25.2) 2.มารดาหลังคลอด ร้อยละ 58.75 รับรู้เกี่ยวกับคุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจำหน่ายอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 208.41 (S.D. = 35.82) 3.มารดาหลังคลอด ร้อยละ 70.00 รับรู้เกี่ยวกับการประสานการดูแลก่อนจำหน่ายอยู่ในระดับสูงโดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 101.63 (S.D. = 18.35) 4.คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูงกับความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .513) ส่วนการประสานการดูแลก่อนจำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .465) 5.คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจำหน่าย และการรับรู้การประสานการดูแลก่อนจำหน่าย สามารถร่วมกันทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ได้ร้อยละ 33.00 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด questionnaire, the teaching quality questionnaire and the care coordination questionnaire. The reliability of the readiness for hospital discharge questionnaire, the teaching quality questionnaire of Sirirat Panuthai and the care coordination questionnaire that was modified by Preeyakamon Krikitrat and Kannika Kantaruksa. The tools were tested reliability by using Cronbach’ alpha coefficient, were 97, .97 and .96, respectively. Descriptive statistics, Spearman's product moment correlation and stepwise multiple regression were used to analyze the data. Results of the study revealed that: 1.65.00 % of Postpartum mothers perceived about readiness for hospital discharge at high level and mean score was 193.08 (S.D. = 25.20). 2.58.75% of Postpartum mothers perceived about teaching quality at high level and mean score was 208.41 (S.D. = 35.82). 3.70.00 % of Postpartum mothers perceived about care coordination at high level and mean score was 101.63 (S.D. = 18.35). 4.Teaching quality had a high positive correlation with readiness for hospital discharge (r = .513, p< .01). Care coordination had moderate positive correlation with readiness for hospital discharge (r = .465, p< .01). 5.Teaching quality and care coordination can predict readiness for hospital discharge among postpartum mothers at a percentage of 33.0 (p< .01). The result of this study will be the basic information about readiness for hospital discharge of postpartum mother. 2020-06-10T07:12:30Z 2020-06-10T07:12:30Z 2563 พยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 13-24 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240722/164051 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68798 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่