ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุภัทรา สารขาว, เดชา ทำดี, วราภรณ์ บุญเชียง
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240778/164102
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68819
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68819
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สมาชิกครอบครัว
การป้องกันการบาดเจ็บ
เด็กปฐมวัย
spellingShingle สมาชิกครอบครัว
การป้องกันการบาดเจ็บ
เด็กปฐมวัย
สุภัทรา สารขาว
เดชา ทำดี
วราภรณ์ บุญเชียง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author สุภัทรา สารขาว
เดชา ทำดี
วราภรณ์ บุญเชียง
author_facet สุภัทรา สารขาว
เดชา ทำดี
วราภรณ์ บุญเชียง
author_sort สุภัทรา สารขาว
title ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
title_short ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
title_full ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
title_fullStr ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
title_full_unstemmed ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
title_sort ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240778/164102
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68819
_version_ 1681752701423058944
spelling th-cmuir.6653943832-688192020-06-10T07:12:31Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน Factors Related to Family Member Practices for Early Childhood Injury Prevention in Community สุภัทรา สารขาว เดชา ทำดี วราภรณ์ บุญเชียง สมาชิกครอบครัว การป้องกันการบาดเจ็บ เด็กปฐมวัย วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ สมาชิกครอบครัวมีส่วนสำคัญในการเป็นผู้ดูแลหลักของเด็กปฐมวัย ดังนั้น การทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน สามารถนำไปใช้ในการวางแผนเพื่อการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยได้ การศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกของครอบครัวที่มีบทบาทในการดูแลเด็กปฐมวัยซึ่งเรียนอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลในพื้นที่อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนกันยายน ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามลักษณะที่กำหนดไว้ จำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ของสมาชิกครอบครัวเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์ ความร่วมมือ และการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาได้เท่ากับ .91, .89, .94, .94 และ .98 ตามลำดับ ค่าความเชื่อมั่น ได้เท่ากับ .79, .91, .78, .81 และ .86 ตามลำดับ ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษา พบว่า 1.สมาชิกครอบครัวส่วนใหญ่มีคะแนนการปฏิบัติสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก ปฐมวัยในชุมชนโดยรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 86.40 2.สมาชิกครอบครัวส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์และความร่วมมือสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งแต่ละปัจจัยคิดเป็นร้อยละ 85.45, 59.40, 95.50, 63.60 ตามลำดับ 3.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ ของเด็กปฐมวัยในชุมชน ประกอบด้วย ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการ บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .500, p < .001) ส่วนความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและทัศนคติมีความสัมพันธ์ทางบวก(r =.129, p =.180, r =.073, p =.450) แต่การรับรู้ประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางลบ (r =-.013, p =.894) กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ผลการศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ดังนั้น บุคลากรทางสุขภาพควรวางแผนการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวสำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชนให้มีประสิทธิภาพต่อไป Unintentional injuries in early childhood are a major public health issue in Thailand. Family members are important caregivers for young children. Therefore, it is important to know about the factors related to family member practices for early childhood injury prevention in community. The purposes of this descriptive correlational study was to study the correlation between factors related to family member practices for early childhood injury prevention in community. The subjects were 110 persons that were the main caregiver of a young child and who studied child care under the local administrative organization in Saraphi District, Chiang Mai Province. Data was collected through interviews. The research instruments consist of demographic data, knowledge, attitude, perceived benefits, cooperation and injury prevention practices among family member for early childhood injury prevention in community. The content validity of interviewing forms were .91, .89, .94, .94 and .98 respectively and reliabilities were .79, .91, .78, .81 and .86 respectively. Descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient and Spearman Rank Correlation Coefficient were used to analyze data. The results of this research revealed that: 1.Most of the family members have a high percentage score (86.40%) for early childhood injury prevention practices in community among family members. 2.Most family members have a high score for knowledge, attitude, perceived benefits, cooperative with injury prevention practices for early childhood in community, (85.45%, 59.40%, 95.50% and 63.60%) respectively. 3.Cooperation was found to be significantly and positively correlated with family member practices for early childhood injury prevention in community (r = .500, p < 0.01). Knowledge and attitude were found to be positively correlated (r =.129, p =.180, r =.073, p =.450), but perceived benefits were found to be negatively correlated (r =-.013, p =.894) with family member practices for early childhood injury prevention in community. The findings of the study indicate that cooperation are associated with family member practices for early childhood injury prevention in community. Therefore health personnel should plan to improve the family member cooperation for effective injury prevention practices among early childhood. 2020-06-10T07:12:31Z 2020-06-10T07:12:31Z 2563 พยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 209-221 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240778/164102 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68819 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่