ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อัจฉราภรณ์ จำรัส, ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240755/164083
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68822
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68822
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
spellingShingle แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
อัจฉราภรณ์ จำรัส
ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์
ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author อัจฉราภรณ์ จำรัส
ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์
author_facet อัจฉราภรณ์ จำรัส
ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์
author_sort อัจฉราภรณ์ จำรัส
title ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
title_short ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
title_full ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
title_fullStr ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
title_full_unstemmed ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
title_sort ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240755/164083
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68822
_version_ 1681752702015504384
spelling th-cmuir.6653943832-688222020-06-10T07:12:31Z ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province อัจฉราภรณ์ จำรัส ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 มีความสำคัญ เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน การศึกษาปฏิบัติการ (operations study) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้คือ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา ก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติ จำนวน 66 คน และหลังมีการใช้แนวปฏิบัติจำนวน 58 คน กระบวนการใช้แนวปฏิบัติอ้างอิงจากกรอบแนวคิดที่เสนอโดยสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999, 2000) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 3) คู่มือประกอบการสอนสุขศึกษาแก่ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 4) แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล 5)แบบสัมภาษณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน และ 6) เครื่องวิเคราะห์ระดับน้ำตาลในเลือดแบบอัตโนมัติ ยี่ห้อมินเดรย์ รุ่นบีเอส400 (MINDRAY รุ่นBS-400) เครื่องมือที่ใช้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่นแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลผลลัพธ์ด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูแลตนเอง และระดับน้ำตาลในเลือด โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1.ระดับความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองในระดับดีพบในกลุ่มก่อนการใช้แนวปฏิบัติร้อยละ 37.88 และกลุ่มหลังการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 70.69 2.ระดับพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับดี พบ ในกลุ่มก่อนการใช้แนวปฏิบัติร้อยละ 21.21 และกลุ่มหลังการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 79.31 3.กลุ่มตัวอย่างที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ พบในกลุ่มก่อนการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 24.24 และกลุ่มหลังการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 67.24 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การใช้แนวปฏิบัติสามารถช่วยให้การควบคุมโรคเบาหวานดีขึ้น ดังนั้นควรเสนอแก่ทีมผู้บริหารเพื่อส่งเสริมให้มีการนำแนวปฏิบัตินี้มาใช้อย่างต่อเนื่องต่อไป Behavior modification in patients with type 2 diabetes is important to prevent and delay the complications. The operational study aimed to determine the effectiveness of implementing nursing management guidelines for people with type 2 diabetes in Pong Hospital, Phayao Province. Subjects in this study were people with type 2 diabetes attending the diabetes clinic at Pong Hospital, Phayao Province. 66 people were in the group before implementing the guideline. and 58 were in the group after implementing guideline. The process use guidelines based on the conceptual framework proposed by the National Council for Health and Medical Research. Australia (NHMRC, 1999, 2000). The research instruments consisted of 1) demographic data recording form, 2) the nursing guideline of people with type 2 diabetes, 3) health education handbook for people with type 2 diabetes, 4) Interview form regarding knowledge of self-care for controlling sugar levels, 5) Self-care interview form for non-insulin dependent diabetic patients, and 6) Automatic blood glucose analyzer Mindray brand version BS 400. All instruments were tested for content validity and reliability. Data were analyzed in the knowledge of self-care, self-care behavior, and blood sugar levels by using descriptive statistics. The study found that: 1.Good level of knowledge about self-care was found in the group before implementing the guidelines as 37.88% and the group after implementing the guidelines as 70.69%. 2.The level of self-care behavior at a good level was found in the group before implementing the guidelines as 21.21% and group after implementing the guidelines as 79.31 %. 3.The sample group that could control blood sugar level was found in the groups before implementing the guidelines as 24.24 % and groups after implementing the guidelines as 67.24 %. The results indicated that the guidelines implementation improves diabetes control. Therefore, the guidelines should be proposed to the administration team in order to enhance continuously the guidelines implementation. 2020-06-10T07:12:31Z 2020-06-10T07:12:31Z 2563 พยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 280-288 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240755/164083 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68822 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่