ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240744/164071 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68826 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68826 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688262020-06-10T07:12:31Z ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ สุมาลี เลิศมัลลิกาพร ธานี แก้วธรรมานุกูล วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล ปิยวรรณ สวัสดิ์สิงห์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ เป็นองค์ความรู้จากการสั่งสมประสบการณ์ เน้นสมดุลสุขภาพ ให้คุณค่าต่อสุขภาพองค์รวม การศึกษาเชิงคุณภาพแบบพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาในการส่งเสริม ปกป้องและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ปราชญ์ชาวบ้าน หมอพื้นบ้าน และผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน จำนวนรวม 68 ราย รวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์เจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุล้านนารวมทั้งการส่งเสริมและปกป้องสุขภาพ ถูกบูรณาการเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ความเชื่อนับถือผี (เทวดา) และพิธีกรรมถูกผสมผสานในการดูแลเพื่อสุขภาวะทางกายและอารมณ์ โดยใช้ หลักการสำคัญคือ เบญจ อ. สู่อายุยืน เริ่มที่ อาหารกินตามธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ออกกำลัง กิจกรรมตามวิถี อารมณ์ มุ่งสู่ศีลธรรมจิตใจเบิกบาน อากาศดี บริสุทธิ์ปลอดมลภาวะ และเอื้ออาทร ห่วงใยใส่ใจกันส่วนพิธีกรรมที่สำคัญ คือ การสืบชะตา การส่งเคราะห์บูชาเทียน เมื่อผู้สูงอายุเจ็บป่วยจะใช้การบำบัดเยียวยาจากแพทย์พื้นบ้านทั้งสมุนไพรบำบัดและพิธีกรรมบำบัด เป็นการดูแลทั้งกายและใจตามแนวคิดสุขภาพองค์รวม ผลการศึกษาจึงเอื้อประโยชน์ในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุทั้งการสร้างเสริมสุขภาพและการบำบัดเยียวยาที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นและสากล เพื่อ ‘การดูแลสุขภาพร่วมสมัย’ เหมาะกับบริบทสังคมวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ Lanna local wisdom related to health is knowledge through accumulated experiences focusing on health stability and placing value on holistic health. The main purpose of this qualitative descriptive study was to explore Lanna local wisdom in promoting, protecting, and caring for elderly health. Key informants, a total of 68, were tradition scholar, traditional healer, and the elderly, residing in Chiang Mai and Lumphun Province. Data were obtained through focus group discussions and in-depth interviews. Content analysis was utilized for data analysis. The main results illustrated that Lanna elderly care including health promotion and protection were an integral part of daily life. The spirit beliefs and all kinds of rituals were incorporated to elderly care for their physical and emotional well-being. The main principle of caring was five notions to live longer, starting with food: natural and nontoxic, exercise and activities based on their lifeway, emotion: morale to spiritual joyfulness, fresh air, and caring each other. Regarding specific rituals, these included Seub Chata, and Songkaeu-buchatean. Concerning therapeutic therapy, while the elderly got sick, folk remedies including herbal remedies and therapeutic rites were adopted. These remedies were caring for both physical and mind as the holistic health concept. These results are useful for elderly care plan including health promotion and remedies integrating local and universal wisdom and gaining ‘contemporary health care suitable to social and cultural context in the globalization era. 2020-06-10T07:12:31Z 2020-06-10T07:12:31Z 2563 พยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 185-197 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240744/164071 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68826 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ |
spellingShingle |
ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ สุมาลี เลิศมัลลิกาพร ธานี แก้วธรรมานุกูล วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล ปิยวรรณ สวัสดิ์สิงห์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ สุมาลี เลิศมัลลิกาพร ธานี แก้วธรรมานุกูล วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล ปิยวรรณ สวัสดิ์สิงห์ |
author_facet |
ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ สุมาลี เลิศมัลลิกาพร ธานี แก้วธรรมานุกูล วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล ปิยวรรณ สวัสดิ์สิงห์ |
author_sort |
ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ |
title |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
title_short |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
title_full |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
title_fullStr |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
title_full_unstemmed |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
title_sort |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษานำร่อง |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240744/164071 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68826 |
_version_ |
1681752702823956480 |