ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240754/164081 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68827 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68827 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688272020-06-10T07:12:31Z ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process รัญชนา หน่อคำ จุฑามาศ กิติศรี พรรณี ไชยวงค์ กรรณิกา อุ่นอ้าย นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช ระบบการดูแล ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง กระบวนการจิตอาสา วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้น และมีความต้องการการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน การให้บริการสุขภาพจึงขยายขอบเขตสู่ชุมชนมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 22 คน ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 22 คน และจิตอาสา 22 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบประเมินความสุขของกรมสุขภาพจิต 2) แบบประเมินคุณภาพชีวิตของ องค์การอนามัยโรค และ3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนาและสถิติทดสอบค่าเฉลี่ยชนิด 2 กลุ่มสัมพันธ์กัน (Paired t-test) ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิต ความสุข และความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และจิตอาสามีความสุข และความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าสามารถนำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการ จิตอาสาไปใช้ในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตได้ตามศักยภาพ มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นแนวทางสำหรับการนำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังไปปรับใช้ในชุมชนอื่น The older people with chronic disease tend to increase and need continuing care at home. The Health care service has expanded therefor more into communities. This research aimed to study the outcome of care system for older people with chronic disease through volunteer process. The samples selected by purposive sampling were 22 older persons, 22 caregivers, and 22 volunteers. The instruments of this study composed of 1) The short format Thai Mental Health Indicators (TMHI) 2) The quality WHO of life assessment instrument (WHOQOL-Brief) 3) The satisfaction evaluation form on the care system for older people with chronic was developed by the researcher. Data were analyzed using descriptive statistics and paired t-test. The result of this research showed that after the development of a care system for older people with chronic disease through volunteers. The quality of life, happiness and satisfaction of the elderly were significantly higher (p<0.001). Elderly caregivers were significantly more satisfied (p <0.05). The happiness and satisfaction of the volunteers were significantly higher (p<0.001). The results of this study can be used to provide a care system of elderly with chronic disease through volunteers in the community. To enhance the elderly, do activity daily living according to their potential. Having a happiness and good quality of life. And a guideline for use a chronic care system for older people in other community. 2020-06-10T07:12:31Z 2020-06-10T07:12:31Z 2563 พยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 268-279 0125-0078 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240754/164081 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68827 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ระบบการดูแล ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง กระบวนการจิตอาสา |
spellingShingle |
ระบบการดูแล ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง กระบวนการจิตอาสา รัญชนา หน่อคำ จุฑามาศ กิติศรี พรรณี ไชยวงค์ กรรณิกา อุ่นอ้าย นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
รัญชนา หน่อคำ จุฑามาศ กิติศรี พรรณี ไชยวงค์ กรรณิกา อุ่นอ้าย นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช |
author_facet |
รัญชนา หน่อคำ จุฑามาศ กิติศรี พรรณี ไชยวงค์ กรรณิกา อุ่นอ้าย นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช |
author_sort |
รัญชนา หน่อคำ |
title |
ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
title_short |
ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
title_full |
ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
title_fullStr |
ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
title_full_unstemmed |
ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
title_sort |
ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240754/164081 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68827 |
_version_ |
1681752703008505856 |