การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_1_376.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68843 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68843 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก ความแข็งแรงยึด เฉือน เรซินซีเมนต์ lithium disilicate glass ceramic shear bond strength resin cement |
spellingShingle |
ลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก ความแข็งแรงยึด เฉือน เรซินซีเมนต์ lithium disilicate glass ceramic shear bond strength resin cement วีรนุช ทองงาม ศิรินาถ ชีวะเกรียงไกร การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
วีรนุช ทองงาม ศิรินาถ ชีวะเกรียงไกร |
author_facet |
วีรนุช ทองงาม ศิรินาถ ชีวะเกรียงไกร |
author_sort |
วีรนุช ทองงาม |
title |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
title_short |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
title_full |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
title_fullStr |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
title_full_unstemmed |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
title_sort |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_1_376.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68843 |
_version_ |
1681752708547084288 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688432020-07-16T07:36:39Z การศึกษาเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างวัสดุบูรณะลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก และเรซินซีเมนต์สามชนิด Comparative Study of Shear Bond Strength between Lithium Disilicate Glass Ceramic Restoration and Three Resin Cements วีรนุช ทองงาม ศิรินาถ ชีวะเกรียงไกร ลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิก ความแข็งแรงยึด เฉือน เรซินซีเมนต์ lithium disilicate glass ceramic shear bond strength resin cement เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาค่ากำลังแรงยึดเฉือนระหว่าง เรซินซีเมนต์ชนิดใหม่ (รีไลย์เอ็กซ์อัลติเมท) กับลิเธียมไดซิ ลิเกตกลาสเซรามิก เปรียบเทียบกับเรซินซีเมนต์สองชนิด คือมัลติลิงค์เอ็นและชนิดเน็กซัสทรี วัสดุและวิธีการ: เตรียมชิ้นงานจากแท่งเซรามิกไอพีเอส อีแม็กซ์เพรส รูปร่างทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร หนา 3 มิลลิเมตร จำนวน 60 ชิ้น เตรียมผิว ชิ้นงานเซรามิกด้วย กรดไฮโดรฟลูออริกความเข้มข้นร้อย ละ 5 เป็นเวลา 20 วินาที แล้วสุ่มแบ่งกลุ่มการทดลองเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 15 ชิ้น (n=15) นำชิ้นทดสอบแต่ละกลุ่ม มาทาสารคู่ควบไซเลนและยึดด้วยเรซินซีเมนต์ดังนี้ กลุ่ม ที่ 1 โมโนบอนด์เอ็นร่วมกับมัลติลิงค์เอ็น (MM) กลุ่มที่ 2 ไซเลนไพรเมอร์ร่วมกับเน็กซัสทรี (SN) กลุ่มที่ 3 ซิง เกอร์บอนด์ยูนิเวอร์ซอลแอด-ฮีซีฟร่วมกับรีไลย์เอ็กซ์อัลติเมท (SR) กลุ่มที่ 4 โมโนบอนด์เอ็นร่วมกับรีไลย์เอ็กซ์อัลติเมท (MR) ฉายแสง 40 วินาที นำชิ้นงานทั้งหมดแช่ในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง และทดสอบความแข็งแรงยึดเฉือนของชิ้นงานทั้งหมดด้วยเครื่องทดสอบสากลชนิดอินสตรอน นำค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนที่ได้ของแต่ละกลุ่มมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูกี้ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) จำแนกพื้นผิวการแตกหักของแต่ละตัวอย่างด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดหัวกลับ ผลการศึกษา: กลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนมากที่สุดคือ MR (164.40 ± 45.25 เมกะปาสคาล)และกลุ่ม SR (160.26 ± 55.04 เมกะปาสคาล) ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่ม SN (147.92 ± 39.03เมกะปาสคาล) ส่วนกลุ่ม MM มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนน้อยที่สุด (105.26 ± 38.37 เมกะปาสคาล) ซึ่งมีความแตกต่างกับกลุ่ม MR และ SR แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มSN อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ลักษณะความล้มเหลวส่วนใหญ่เป็นแบบผสมระหว่างพื้นผิวเซรามิกกับชั้นเรซินซีเมนต์ สรุป: การยึดติดระหว่างลิเธียมไดซิลิเกตกลาสเซรามิกกับเรซินซีเมนต์ชนิดรีไลย์เอ็กซ์อัลติเมตทั้งแบบที่ใช้ร่วมกับซิงเกอร์บอนด์ยูนิเวอร์ซอลแอดฮีซีฟและใช้ร่วมกับสารคู่ควบไซเลน ไม่แตกต่างกับการยึดด้วยเรซินซีเมนต์ชนิดเน็กซัสทรี แต่มีค่าการยึดติดที่ดีกว่าเรซินซีเมนต์ชนิดมัลติลิงค์เอ็น Objective: To compare shear bond strength of a new resin cement (RelyX™ Ultimate) on two resin cements (Multilink® N and Nexus 3) to lithium disilicate glass ceramic. Materials and Methods: Sixty cylindrical glass ceramics (IPS e.max press) were fabricated in 4 mm diameter and 3 mm height and surface treated with 5% hydrofluoric acid for 20 s. They were randomly divided into four groups (n=15) by type of silane coupling agent and resin cement: group 1 Monobond N + Multilink® N (MM), group 2 Silane primer + Nexus 3 (SN), group 3 Single bond universal + RelyX™ Ultimate (SR) and group 4 Monobond N + RelyX™ Ultimate (MR) and light curing 40 s. Specimens were stored in distilled water at 37°C for 24 h and then loaded in the Universal Testing Machine for shear bond strength test. Statistical analysis of the mean shear bond strength were performed by One-way ANOVA and the Tukey multiple comparison test (p<0.05). The failure mode was investigated under Inverted Phase Contrast Microscope. Results: The mean shear bond strength of MR group was highest (164.40 ± 45.25 MPa) and SR group (160.26 ± 55.04 MPa), but not significant different from SN group (147.92 ± 39.03 MPa). The mean shear bond strength of MM group was lowest (105.26 ± 38.37 MPa) and significantly lower than MR and SR group but not significant different from SN group. The failure mode mostly demanstrated mixed failure. Conclusion: The bond strength between lithium disilicate glass ceramic to RelyX™ Ultimate resin cement that treated with both of Single bond universal and silane coupling agent were not different from Nexus 3 resin cement but was higher bond strength than Multilink® N resin cement. 2020-07-16T07:36:38Z 2020-07-16T07:36:38Z 2558 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558), 13-22 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_1_376.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68843 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |