ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_388.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68862 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68862 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688622020-07-16T07:36:42Z ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก The Importance and Management of Palato-gingival Groove เบญจพร มีหลีสวัสดิ์ ภูมิศักดิ์ เลาวกุล ร่องด้านเพดานและเหงือก รอยโรคร่วมระหว่าง โรคเนื้อเยื่อในและโรคปริทันต์ เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม ร่องด้านเพดานและเหงือกเกิดจากความผิดปกติ ระหว่างการสร้างฟัน พบได้บ่อยในฟันตัดบนซี่ข้างและซี่ กลาง ร่องนี้มีความสำคัญทางปริทันต์เนื่องจากเป็นปัจจัย สนับสนุนที่สำคัญของโรคปริทันต์อักเสบเฉพาะที่ ในฟันที่ มีร่องลึกอาจมีทางเชื่อมต่อระหว่างอวัยวะปริทันต์กับคลอง รากฟัน ทำให้เกิดรอยโรคร่วมระหว่างโรคเนื้อเยื่อในและโรค ปริทันต์ (endodontic-periodontal lesion) ซึ่งต้องอาศัย การรักษาโดยทันตแพทย์สหสาขา การพยากรณ์โรคและการ รักษาพิจารณาจากขอบเขตของร่องและระดับการทำลาย อวัยวะปริทันต์ ในกรณีที่ร่องมีความลึกมากและทอดยาวถึง ปลายรากร่วมกับมีการสูญเสียกระดูกเบ้าฟันมากอาจต้อง รักษาโดยการถอนฟัน ดังนั้นทันตแพทย์ควรให้ความสำคัญ ในการตรวจและให้การรักษาอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันการ สูญเสียฟัน Palato-gingival groove is a tooth developmental anomaly usually found in upper lateral and upper central incisors. It is an important predisposing factor to localized periodontal disease. In some cases, the deep groove may communicate to the root canal system and may cause endodontic-periodontal lesion. Prognosis and treatment plan depend on the extension of the groove and the severity of attachment loss. Interdisciplinary treatment should be considered according to severity of the lesion, including periodontal, restorative and endodontic therapy. When the groove is deep and reach the apical part of the root, leading to severe alveolar bone loss, extraction will be considered. In order to prevent further tooth loss, the dentist should recognize palato-gingival groove as a routine examination. 2020-07-16T07:36:42Z 2020-07-16T07:36:42Z 2558 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 47-56 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_388.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68862 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ร่องด้านเพดานและเหงือก รอยโรคร่วมระหว่าง โรคเนื้อเยื่อในและโรคปริทันต์ |
spellingShingle |
ร่องด้านเพดานและเหงือก รอยโรคร่วมระหว่าง โรคเนื้อเยื่อในและโรคปริทันต์ เบญจพร มีหลีสวัสดิ์ ภูมิศักดิ์ เลาวกุล ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
เบญจพร มีหลีสวัสดิ์ ภูมิศักดิ์ เลาวกุล |
author_facet |
เบญจพร มีหลีสวัสดิ์ ภูมิศักดิ์ เลาวกุล |
author_sort |
เบญจพร มีหลีสวัสดิ์ |
title |
ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
title_short |
ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
title_full |
ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
title_fullStr |
ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
title_full_unstemmed |
ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
title_sort |
ความสำคัญของการจัดการร่องด้านเพดานและเหงือก |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_388.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68862 |
_version_ |
1681752727723442176 |