ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พัชนี ชูวีระ, สิริวัธน์ วัฒนพาณิชย์, จินตนา อิทธิเดชารณ, ชูชัย อนันต์มานะ
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_390.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68866
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68866
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที
การเคลือบด้วย เรซิน
สารยึดติด
สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
spellingShingle การเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที
การเคลือบด้วย เรซิน
สารยึดติด
สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
พัชนี ชูวีระ
สิริวัธน์ วัฒนพาณิชย์
จินตนา อิทธิเดชารณ
ชูชัย อนันต์มานะ
ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author พัชนี ชูวีระ
สิริวัธน์ วัฒนพาณิชย์
จินตนา อิทธิเดชารณ
ชูชัย อนันต์มานะ
author_facet พัชนี ชูวีระ
สิริวัธน์ วัฒนพาณิชย์
จินตนา อิทธิเดชารณ
ชูชัย อนันต์มานะ
author_sort พัชนี ชูวีระ
title ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
title_short ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
title_full ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
title_fullStr ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
title_full_unstemmed ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
title_sort ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_390.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68866
_version_ 1681752728444862464
spelling th-cmuir.6653943832-688662020-07-16T07:36:42Z ผลของการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันทีด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ต่อความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต Effect of an Immediate Dentin Sealing Technique Using Self-Etch Adhesives on Micro-Tensile Bond Strength of Resin Cement in Indirect Composite Restorations พัชนี ชูวีระ สิริวัธน์ วัฒนพาณิชย์ จินตนา อิทธิเดชารณ ชูชัย อนันต์มานะ การเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที การเคลือบด้วย เรซิน สารยึดติด สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อประเมินผลของการ เคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที โดยใช้สารยึดติดระบบเซลฟ์ เอตช์ 2 ขั้นตอน (Clearfil SE Bond) หรือระบบขั้นตอน เดียว (Single Bond Universal Adhesive) ต่อความ แข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคในงานบูรณะโดยอ้อมด้วยคอมโพสิต ด้วยวิธีการยึดติดด้วยเรซินซีเมนต์ชนิด Panavia F 2.0 เปรียบเทียบกับวิธีการยึดติดด้วยเรซินซีเมนต์ตามคำ แนะนำของบริษัทผู้ผลิต ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันโดยทั่วไป ทำการ ประเมินรูปแบบของการแตกหักของชิ้นงานในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาระบบสารยึดติดเนื้อฟัน 2 ชนิด คือ Clearfil SE Bond (Kuraray Medical, Tokyo, Japan) ซึ่งเป็นระบบ 2 ขั้นตอน และ Single Bond Universal Adhesive (3M, ESPE) ซึ่งเป็นระบบ ขั้นตอนเดียว ในการเคลือบปิดผิวเนื้อฟัน ทำการศึกษาโดยใช้ฟันกรามน้อยบนที่ถอนออกจากช่องปาก จำนวน 30 ซี่ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ซี่ ได้แก่ กลุ่มควบคุมซึ่งไม่มีการทาสารยึดติดเคลือบปิดผิวเนื้อฟัน และกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มที่ทาสารยึดติดระบบ 2 ขั้นตอนและระบบขั้นตอนเดียวเคลือบปิดผิวเนื้อฟัน ทำการกรอตัดฟันด้านบดเคี้ยวจนถึงชั้นเนื้อฟัน ขัดด้วยกระดาษทรายน้ำ ความละเอียด 600 grit ในกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม ทำการเคลือบทับผิวฟันที่กรอตัดแล้วด้วยสารยึดติดชนิด Clearfil SE Bond และ Single Bond Universal Adhesive ทันทีก่อนที่จะปิดทับด้วยวัสดุอุดชั่วคราวชนิด Cavit G ส่วนกลุ่มควบคุม ปิดทับผิวฟันที่กรอตัดแล้วด้วย Cavit G โดยไม่ทาสารเคลือบใดๆ นำตัวอย่างทุกชิ้นงานแช่ในน้ำกลั่น เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หลังจากนั้น รื้อวัสดุอุดชั่วคราวออก ขัดด้วยผงพัมมิสผสมน้ำ นำชิ้นงานคอมโพสิตมายึดด้วยเรซินซีเมนต์ชนิด Panavia F 2.0 ทำการตัดฟันที่มีชิ้นงานคอมโพสิตยึดติดให้เป็นแท่งเหลี่ยมจำนวน 12 ชิ้น พื้นที่หน้าตัดประมาณ 0.8 มม.2 - 1.0 มม.2 ทดสอบความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคในกลุ่มทดสอบทั้ง 3 กลุ่ม โดยใช้เครื่องทดสอบสากล หลังจากนั้น ประเมินรูปแบบความล้มเหลวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนชนิดส่องกราด ผลการทดสอบ พบว่า ความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคของกลุ่มทดลองที่เคลือบปิดผิวเนื้อฟันด้วย Clearfil SE Bond (18.61±3.01 MPa) มีค่ามากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่เคลือบปิดผิวเนื้อฟันด้วย Single Bond Universal Adhesive (12.94±5.43 MPa) และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้เคลือบสารปิดผิวเนื้อฟัน (9.34±4.21 MPa) และในสองกลุ่มหลังไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ การวิเคราะห์รูปแบบของความล้มเหลวภายหลังทดสอบความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาค พบความล้มเหลวชนิด การยึดไม่ติด (adhesive failure) มีอุบัติการณ์ที่สูงในทุกกลุ่มทดลองของการศึกษานี้ ภายใต้ข้อจำกัดของการศึกษา สามารถสรุปผลได้ว่า การใช้ Clearfil SE Bond ซึ่งเป็นสารยึดติดระบบ 2 ขั้นตอน เคลือบปิดผิวเนื้อฟันก่อนปิดทับด้วยวัสดุอุดชั่วคราวและยึด ชิ้นงานคอมโพสิตโดยอ้อมด้วยเรซินซีเมนต์ชนิด Panavia F 2.0 จะมีความแข็งแรงยึดดึงระดับจุลภาคมากกว่าการ ใช้ Single Bond Universal Adhesive ซึ่งเป็นสารยึด ติดระบบขั้นตอนเดียว และการเคลือบปิดผิวเนื้อฟันทันที ด้วยสารยึดติดก่อนปิดทับด้วยวัสดุอุดชั่วคราว มีแนวโน้ม จะเพิ่มความแข็งแรงยึดดึงเมื่อยึดชิ้นงานด้วยเรซินซีเมนต์ ชนิด Panavia F 2.0 เมื่อเปรียบเทียบกับการยึดชิ้นงาน ด้วยวิธีที่ใช้กันโดยทั่วไป The purpose of this study was to evaluate the effect of immediate dentin sealing, using either a two-step self-etch adhesive system (Clearfil SE Bond) or one-step self-etch adhesive system (Single Bond Universal Adhesive), on microtensile bond strength of indirect composite restorations luted with Panavia F 2.0 resin cement compared to that without immediate dentin sealing. The fracture patterns of the bonded surfaces were also evaluated. Thirty extracted human upper premolars were randomly allocated into three groups of ten teeth each according to the surface treatments before placing temporary restorations. The occlusal surface of each tooth was cut to expose a flat dentin surface, and polished with 600 grit silicon carbide paper. Two adhesive systems were used as an immediate dentin sealing agent after tooth preparation in the two tested groups. For the control group, no immediate dentin sealing material was used. After dentin surface treatments, Cavit G was placed on the surface of each tooth as a temporary restoration. The prepared tooth specimens were kept in distilled water for 24 hours. Then the temporary material was removed and the surface was cleaned with pumice slurry. Each tooth was then bonded to an indirect composite rod with Panavia F 2.0 resin cement. The tooth-indirect composite assemblies were then sectioned into match-stick liked microbeams for micro-tensile bond strength testing. Twelve representative microbeams with a cross sectional area between 0.8 mm2 and 1.0 mm2 from each group were selected for micro-tensile bond strength testing using a universal testing machine. After testing, the failure modes of the specimens were evaluated under a scanning electron microscope. Among the three approaches, the micro-tensile bond strength of the Clearfil SE Bond group (18.61±3.01 MPa) was significantly higher than the Single Bond Universal Adhesive group (12.94±5.43 MPa) and the control group (9.34±4.21 MPa). The micro-tensile bond strength of the Single Bond Universal Adhesive group and control group were not significantly different. Failure mode analysis showed adhesive failure in all specimens. Within the limitations of this study, it may be concluded that Clearfil SE Bond provided a higher bond strength when used as an immediate dentin sealing agent than did Single Bond Universal Adhesive in the same self-etch mode. In addition, sealing the prepared dentin surface immediately with dentin adhesives before placing a temporary restoration showed a tendency to improve the bond strength of the luting resin cement compared to the conventional cementation technique when Panavia F 2.0 resin cement was used. 2020-07-16T07:36:42Z 2020-07-16T07:36:42Z 2558 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 69-80 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_390.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68866 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่