การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วิทวัส ผลดี, พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์, แมนสรวง อักษรนุกิจ
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_393.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68867
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68867
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic อลูมินา
ฐานฟันเทียม
สารคู่ควบไซเลน
ความแข็งแรงยึดดึง
Alumina
Denture Base
Silane Coupling Agent
Tensile Bond Strength
spellingShingle อลูมินา
ฐานฟันเทียม
สารคู่ควบไซเลน
ความแข็งแรงยึดดึง
Alumina
Denture Base
Silane Coupling Agent
Tensile Bond Strength
วิทวัส ผลดี
พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์
แมนสรวง อักษรนุกิจ
การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author วิทวัส ผลดี
พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์
แมนสรวง อักษรนุกิจ
author_facet วิทวัส ผลดี
พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์
แมนสรวง อักษรนุกิจ
author_sort วิทวัส ผลดี
title การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
title_short การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
title_full การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
title_fullStr การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
title_full_unstemmed การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
title_sort การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_393.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68867
_version_ 1681752728630460416
spelling th-cmuir.6653943832-688672020-07-16T07:36:42Z การศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมที่ไม่เสริมและเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินา ปริมาณต่างกัน The Study of Tensile Bond Strength between Non-Reinforced and Reinforced Alumina Filler with Different Amount in Denture Base วิทวัส ผลดี พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์ แมนสรวง อักษรนุกิจ อลูมินา ฐานฟันเทียม สารคู่ควบไซเลน ความแข็งแรงยึดดึง Alumina Denture Base Silane Coupling Agent Tensile Bond Strength เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์ ศึกษาความแข็งแรงยึดดึงระหว่างฐานฟันเทียมอะคริลิกเรซินที่ไม่เสริมและเสริมด้วยวัสดุอัดแทรกอลูมินาที่มีปริมาณวัสดุอัดแทรกที่แตกต่างกัน วัสดุและวิธีการ วัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ไม่ปรับสภาพพื้นผิวและปรับสภาพพื้นผิวผสมกับผงอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อนในสัดส่วนวัสดุอัดแทรกอลูมินาร้อยละ3 5 10 และ 15 โดยน้ำหนัก กลุ่มควบคุมใช้ผงอะคริลิกเรซินไม่ผสมวัสดุอัดแทรกอลูมินา วิเคราะห์การคงอยู่ของธาตุซิลิกอนบนพื้นผิววัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ปรับสภาพพื้นผิวเพื่อตรวจสอบธาตุซิลิกอนบนพื้นผิววัสดุอัดแทรกอลูมินา นำอะคริลิกเรซิน ทั้ง 9 กลุ่มอัดติดกับชิ้นตัวอย่างอะคริลิกเรซินที่เตรียมไว้ ตัดชิ้นงานเป็นรูปดัมเบลล์ กลุ่มละ 10 ชิ้น ทดสอบความแข็งแรงยึดดึงโดยเครื่องทดสอบสากล นำค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดดึงมาวิเคราะห์ ทางสถิติชนิดความแปรปรวนแบบสองทางและทดสอบเชิงซ้อนด้วยวิธีดันแคน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์การคงอยู่ของธาตุซิลิกอน พบธาตุซิลิกอนบนพื้นผิววัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ปรับสภาพพื้นผิว ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดดึงสูงที่สุดในกลุ่มเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ปรับสภาพพื้นผิวในสัดส่วนวัสดุอัดแทรกอลูมินาร้อยละ 3 โดยน้ำหนัก การวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าค่าเฉลี่ยความแข็งแรง ยึดดึงในกลุ่มเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ปรับสภาพพื้นผิวในสัดส่วนวัสดุอัดแทรกอลูมินาร้อยละ 3 5 และ 10 โดยน้ำหนัก มีค่าสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ลักษณะการแตกหักส่วนใหญ่เป็นการแตกหักแบบเชื่อมแน่นภายในอะคริลิกเรซินวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดไม่พบช่องว่างโดยรอบวัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ปรับสภาพพื้นผิวกับเรซินเมทริกซ์ สรุปผลการศึกษา กลุ่มเสริมวัสดุอัดแทรกอลูมินาที่ปรับสภาพพื้นผิวในสัดส่วนวัสดุอัดแทรกอลูมินาร้อยละ 3 5 และ 10 โดยน้ำหนัก มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดดึงสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ Objectives: The purpose of this study was to study of tensile bond strength between non-reinforced and reinforced alumina filler with different amount in acrylic denture base Methods: The 3, 5, 10 and 15 wt% of nonsilanized and silanized alumina filler were mixed with heat-polymerized PMMA. PMMA without reinforced alumina was served as control. The EDS analysis was used to detect silicon (Si) on the surface of alumina filler. All of 9 groups were packed with acrylic denture base and prepared in dumbbell-shaped specimens (n=10). The tensile bond strength test was performed using a universal testing machine. The mean tensile bond strength was determined and analyzed by 2 way-ANOVA and Duncan’s test. (p<0.05) Results: The EDS analysis showed the deposition of silicon element on the surface of alumina filler. The 3 wt% of silanized alumina filler group showed the highest mean tensile bond strengths. From statistical analysis, the mean tensile bond strengths of 3, 5 and 10 wt% groups were significantly higher than those of the other groups (p<0.05). The fracture mode of specimens was almost adhesive failure. From SEM analysis, gaps between silanized alumina fillers and resin matrix were not observed. Conclusions: The mean tensile bond strengths of 3, 5 and 10 wt% groups were significantly higher than those of the other groups (p<0.05). 2020-07-16T07:36:42Z 2020-07-16T07:36:42Z 2558 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 99-110 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_2_393.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68867 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่