ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2557_35_1_345.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68873 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68873 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
โปรเเอนโธไซยานิดิน ความแข็งแรงยึดติดแบบ ดึงระดับจุลภาค โซเดียมไฮโปคลอไรท์ การยึดติดที่เนื้อฟัน proanthocyanidin microtensile bond strength sodium hypochlorite bonding to dentin |
spellingShingle |
โปรเเอนโธไซยานิดิน ความแข็งแรงยึดติดแบบ ดึงระดับจุลภาค โซเดียมไฮโปคลอไรท์ การยึดติดที่เนื้อฟัน proanthocyanidin microtensile bond strength sodium hypochlorite bonding to dentin ไหมแพร นิภารักษ์ ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ สิทธิกร คุณวโรตม์ สุมนา จิตติเดชารักษ์ ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
ไหมแพร นิภารักษ์ ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ สิทธิกร คุณวโรตม์ สุมนา จิตติเดชารักษ์ |
author_facet |
ไหมแพร นิภารักษ์ ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ สิทธิกร คุณวโรตม์ สุมนา จิตติเดชารักษ์ |
author_sort |
ไหมแพร นิภารักษ์ |
title |
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
title_short |
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
title_full |
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
title_fullStr |
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
title_full_unstemmed |
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
title_sort |
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2557_35_1_345.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68873 |
_version_ |
1681752729740902400 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688732020-07-16T07:36:46Z ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของเนื้อฟัน ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ Effect of Grape Seed Extract on the Microtensile Bond Strengthof NaOCl-treated Dentin ไหมแพร นิภารักษ์ ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ สิทธิกร คุณวโรตม์ สุมนา จิตติเดชารักษ์ โปรเเอนโธไซยานิดิน ความแข็งแรงยึดติดแบบ ดึงระดับจุลภาค โซเดียมไฮโปคลอไรท์ การยึดติดที่เนื้อฟัน proanthocyanidin microtensile bond strength sodium hypochlorite bonding to dentin เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรเเอนโธไซยานิดิน ในสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อค่าความแข็งแรงยึดติดระหว่าง สารยึดติดระบบเซลฟเอทช์สองขั้นตอนกับเนื้อฟันที่ได้รับ การปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ระเบียบและวิธีการวิจัย: ใช้ฟันกรามแท้จำนวน 25 ซี่ ตัดด้านบดเคี้ยวจนถึงชั้นเนื้อฟัน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ล้างผิวเนื้อฟันด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้น ร้อยละ 5.25 เป็นเวลา 30 วินาที กลุ่มที่ 2-4 ล้างด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 5.25 เป็นเวลา 30 วินาที แล้วทาด้วยโปรเเอนโธไซยานิดินความเข้มข้นร้อยละ 5 10 หรือ 15 เป็นเวลา 30 วินาที ตามลำดับ และ กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มควบคุม ล้างด้วยน้ำกลั่น 10 วินาที จากนั้นฟัน ทั้งหมดจะถูกล้างน้ำ เป่าลม และอุดเรซินคอมโพสิตด้วยสารยึดติดเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์ (Clearfil™ SE bond) ตามคำแนะนำของบริษัท นำฟันที่อุดแล้วไปแช่ในน้ำกลั่น อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้น ตัดแต่งชิ้นงานเป็นรูปนาฬิกาทรายที่มีพื้นที่หน้าตัดการยึด ติดประมาณ 1 ตารางมิลลิเมตร ได้ชิ้นงานกลุ่มละ 20 ชิ้น (n=20) ทดสอบความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค ด้วยความเร็วหัวกดเท่ากับ 1 มิลลิเมตร/นาที นำค่าที่ได้มา วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบทางเดียว (One-way ANOVA) และการเปรียบเทียบ เชิงซ้อนชนิดทูกีย์ (Tukey’s multiple comparisons) ที่ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (P<0.05) ตรวจสอบความล้มเหลวของการยึดติดบริเวณรอยแตกของชิ้นงานด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด ผลการศึกษา: เนื้อฟันที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดแบบดึง ระดับจุลภาคต่ำกว่าเนื้อฟันในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ เมื่อล้างเนื้อฟันที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ด้วยสารละลายโปรเเอนโธไซยานิดินจากสาร สกัดจากเมล็ดองุ่น พบว่าในทุกกลุ่มการทดลองให้ความ แข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคสูงกว่าเนื้อฟันที่ได้รับ การปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์เพียงอย่างเดียว อย่างมีนัยสำคัญ โดยโปรเเอนโธไซยานิดินความเข้มข้น ร้อยละ 15 เมื่อใช้เป็นเวลา 30 วินาทีให้ค่าการยึดติดที่ไม่ แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย ลักษณะความล้มเหลวของการยึดติดที่พบส่วนใหญ่เป็น แบบผสม สรุปผลการศึกษา: โปรเเอนโธไซยานิดินความเข้มข้น ร้อยละ 15 เมื่อใช้เป็นเวลา 30 วินาที สามารถเพิ่มความแข็ง แรงยึดติดให้แก่เนื้อฟันที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ซึ่งมีความแข็งแรงยึดติดลดลงให้คืนกลับมาได้ Objective: To evaluate the effect of proanthocyanidin (PA) in grape seed extract on the microtensile bond strength between a two-step self-etch adhesive and sodium hypochlorite-treated dentin. Methods: Twenty-five flat, ground, coronal dentin specimens were divided into five groups. The dentin surfaces were treated as follows: Group 1, treated with 5.25% NaOCl for 30 seconds; Groups 2-5, treated with 5.25% NaOCl for 30 seconds followed by 5, 10 or 15% PA for 30 seconds, respectively; and Group 5, no treatment (control group). After rinsing with distrilled water for 10 seconds and air-drying, all dentin surfaces were bonded with Clearfil SE Bond according to the manufacturer’s instructions, and built up with resin composite. After water storage at 37°C for 24 hours, the bonded dentin specimens were prepared to an hourglass configuration with a cross-sectional area of approximately 1 mm2 . Twenty specimens in each group (n=20) were subjected to a microtensile bond strength test at a crosshead speed of 1.0 mm/min. Data were statistically analyzed using One-way ANOVA and Tukey’s multiple comparisons test (P <0.05). The failure mode of fractured specimens was observed using scanning electron microscope. Results: The specimens in the group treated with NaOCl alone had significantly lower bond strength than those in the control group. All specimens in the groups treated with PA on NaOCl-treated dentin had significantly higher microtensile bond strength than the specimens in the group treated with NaOCl alone. There were no significant differences in bond strengths between the control group and the group treated with 15% PA for 30 seconds. The failure modes were mainly mixed failure. Conclusions: The 30-second applications of 15% PA from grape seed extract improved the strength of the bond between a two-step self-etch adhesive and NaOCl-treated dentin. 2020-07-16T07:36:46Z 2020-07-16T07:36:46Z 2557 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2557), 63-75 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2557_35_1_345.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68873 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |