ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2557_35_1_347.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68882 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68882 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ กำลังการยึดติดแบบเฉือน สารห้ามเลือด Glass-ionomer cement Shear bond strength Hemostatic agent |
spellingShingle |
กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ กำลังการยึดติดแบบเฉือน สารห้ามเลือด Glass-ionomer cement Shear bond strength Hemostatic agent ณัฐพงษ์ นันโท สุมนา จิตติเดชารักษ์ ยุทธนา คูวุฒยากร ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
ณัฐพงษ์ นันโท สุมนา จิตติเดชารักษ์ ยุทธนา คูวุฒยากร |
author_facet |
ณัฐพงษ์ นันโท สุมนา จิตติเดชารักษ์ ยุทธนา คูวุฒยากร |
author_sort |
ณัฐพงษ์ นันโท |
title |
ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_short |
ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_full |
ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_fullStr |
ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_full_unstemmed |
ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_sort |
ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2557_35_1_347.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68882 |
_version_ |
1681752731373535232 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688822020-07-16T07:36:46Z ผลของการปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ต่อกำลังยึดติดแบบเฉือน ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน Effect of Aluminum Chloride Hemostatic Agent Contamination on Shear Bond Strength of Glass-ionomer Cements to Dentin ณัฐพงษ์ นันโท สุมนา จิตติเดชารักษ์ ยุทธนา คูวุฒยากร กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ กำลังการยึดติดแบบเฉือน สารห้ามเลือด Glass-ionomer cement Shear bond strength Hemostatic agent เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่ากำลังยึดติดแบบเฉือนของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ 4 ผลิตภัณฑ์กับเนื้อฟันที่ปนเปื้อนและไม่ปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ โดยใช้ฟันกรามแท้มนุษย์ซี่ที่สามตัดผิวฟันด้านแก้มและด้านลิ้นออกถึงชั้นเนื้อฟัน เพื่อใช้สำหรับการยึดจำนวน 120 ชิ้น แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 60 ชิ้น กลุ่มที่ 1 (กลุ่มควบคุม) ไม่ทาสารห้ามเลือด กลุ่มที่ 2 กลุ่มทดลองทาสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ความเข้มข้นร้อยละ 25 นาน 2 นาที ล้างน้ำ 30 วินาที และเป่าลม 3 วินาที แต่ละกลุ่มแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มย่อย นำมายึดด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ 4 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ คีแทคฟิลพลัส คีแทคโมลาร์ วิทริเมอร์และคีแทคเอนหนึ่งร้อย กำหนดขนาดพื้นที่ผิวในการยึดติดของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ด้วยแม่พิมพ์ พลาสติกเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มิลลิเมตร เก็บชิ้นงานในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง นำทุกชิ้นงานไปทดสอบค่ากำลังยึดติดแบบเฉือน จากนั้นนำชิ้นงานมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์สเตอริโอกำลังขยาย 100เท่า เพื่อแบ่งลักษณะการแตกหัก นำผลการทดสอบค่ากำลังยึดติดแบบเฉือนมาวิเคราะห์ทางสถิติเปรียบเทียบโดย ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง (two-way ANOVA) วิเคราะห์เชิงซ้อนด้วยวิธีทูคีย์ (Tukey multiple comparison test) ทำการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ไม่ปนเปื้อนและปนเปื้อนสารห้ามเลือดที่ยึดติดด้วยวัสดุผลิตภัณฑ์ เดียวกัน ด้วยการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองค่าที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกันที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) ศึกษารอยต่อที่เกิดขึ้นระหว่างกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟันด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดกำลังขยาย 3000เท่า จากผลการทดลองการปนเปื้อนของสารห้ามเลือดส่งผลให้ค่ากำลังยึดติดแบบเฉือนของคีแทคฟิลพลัสเพิ่มขึ้น (5.31±1.45 เมกกะปาสคาล) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ปนเปื้อนสารห้ามเลือด แต่สำหรับคีแทคเอนหนึ่งร้อยพบว่าค่ากำลังยึดติดแบบเฉือนลดลง (2.80±1.80 เมกกะปาสคาล)เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ปนเปื้อนสารห้ามเลือดส่วนกลุ่มคีแทคโมลาร์และวิทริเมอร์ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ปนเปื้อนและไม่ปนเปื้อนสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับผลจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพบว่าชั้นไอออนเอ็นริชที่เกิดขึ้นมีความแตกต่างกันตามผลิตภัณฑ์ของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ สรุปผลการศึกษาพบว่าสารห้ามเลือดชนิดอลูมินัมคลอไรด์ส่งผลต่อกำลังยึดติดแบบเฉือนของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์แต่ละชนิดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับวิธีการเตรียมผิวฟันและส่วนประกอบของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ The purpose of this study was to compare the shear strength of the bonds between glass-ionomer cements and dentin contaminated with a hemostatic agent containing aluminum chloride, and uncontaminated. Human third molars were sectioned mesiodistally and ground to obtain flat dentin surfaces. One hundred and twenty dentin specimens were randomly divided into two main groups of 60 specimens each: Group 1 (control group) was uncontaminated; Group 2 was contaminated for two minutes with 25% aluminum chloride hemostatic agent. The specimens in both groups were rinsed with distilled water and air-dried. Subgroups were formed according to the four glass-ionomer cements used in the study (Ketac™Fil Plus, Ketac™ Molar Aplicap, Vitremer™ and Ketac™ N100). Dentin surfaces were restored with glass-ionomer cement (diameter 3 mm.). All specimens were stored in distilled water at 37°C for 24 hours before the shear bond strength was evaluated in a universal testing machine. The types of failure were also assessed using a stereomicroscope with 100X magnification. The data was statistically analyzed by two-way ANOVA followed by Tukey’s multiple comparison test and the average shear bond strength values were compared by the Independent Sample t-test at a 95% confident level (p<0.05). The interfaces between dentin and glass-ionomer cement were evaluated using scanning electron microscopy operated at 3000 X magnification. The shear strength of bonds betweenKetacTMFil Plus and contaminated dentin was significantly higher (5.31±1.45 MPa), and the shear strength of bonds between Ketac™ N100 and contaminated dentin was lower (2.80±1.80 MPa) than those of bonds to uncontaminated dentin. The shear strength of bonds between Ketac™ Molar Aplicap and VitremerTM and contaminated dentin were not significantly different from those of bonds to uncontaminated dentin. At glassionomer cement-dentin interface, different ion-enriched layers were presented by different glass-ionomer cements.In conclusion,the shear strength of bonds between glass-ionomer cements and dentin contaminated with a hemostatic agent containing aluminum chloride might depend on the surface preparations and compositions of glass-ionomer cements. 2020-07-16T07:36:46Z 2020-07-16T07:36:46Z 2557 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2557), 87-98 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2557_35_1_347.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68882 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |