ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_362.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68891 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68891 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688912020-07-16T07:36:47Z ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง Effect of sodium hypochlorite solution on surface roughness of hard denture relining resin acrylic บุษบา ศราสิทธิ์สันติกุล ฤดีรัตน์ กัลยาณภาคย์ กุลภพ สุทธิอาจ ความหยาบผิว โซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 1 วัสดุเสริมฐานฟันเทียมเรซินอะคริลิกแบบแข็งชนิดก่อตัวด้วยปฏิกิริยาเคมี Surface roughness, 1% Sodium hypochlorite Chemical cured hard denture relining material เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของสารละลายโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ ความเข้มข้นร้อยละ 1 โดยปริมาตร ต่อความ หยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง วัสดุและวิธีการ: สร้างชิ้นตัวอย่าง ขนาด 15x15x3 มิลลิเมตร จากวัสดุเสริมฐานฟันเทียมเรซินอะคริลิกแบบ แข็งชนิดก่อตัวด้วยปฏิกิริยาเคมี (โทกูยามา รีเบส ทู ฟาสต์) จำนวน 22 ชิ้น สุ่มแบ่งตัวอย่างเป็นกลุ่มควบคุม (n=11) และกลุ่มทดลอง (n=11) เลือกตัวอย่างกลุ่มละ10 ชิ้น สำหรับทดสอบความหยาบผิว และ 1 ชิ้น สำหรับการศึกษา พื้นผิวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด แช่ ชิ้นตัวอย่างกลุ่มควบคุมในน้ำกลั่นชนิดไม่มีอิออน 90 ครั้ง ครั้งละ 10 นาที แช่ตัวอย่างกลุ่มทดลองในสารละลาย 1% โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 90 ครั้ง ครั้งละ 10 นาที วัดค่าความ หยาบผิว (Ra, µm) ก่อนและหลังการแช่ คำนวณค่าร้อยละ ความแตกต่างความหยาบผิวก่อนและหลังทดลอง วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบ ที-เทสต์ (α =0.05) ผลการทดลอง: ร้อยละความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความหยาบผิวก่อนและหลังทดลองของกลุ่มควบคุมและ กลุ่มทดลอง ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.087) สรุปผล: การฆ่าเชื้อฟันเทียมโดยการแช่ในสารละลาย 1% โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ครั้งละ 10 นาที ไม่ส่งผลต่อ ความหยาบผิวของวัสดุเสริมฐานฟันเทียมเรซินอะคริลิก แบบแข็งชนิดบ่มด้วยปฏิกิริยาเคมี Objective: To study the effect of 1% sodium hypochlorite (NaOCl) solution on the surface roughness of hard denture relining resin acrylic Methods: Twenty two specimens (15x15x3 mm.) were fabricated from chemical cured hard denture relining material (Tokuyama Rebase II Fast) and randomly divided into the control (n =11) and the test group (n = 11). Ten specimens from each group were selected for surface roughness testing and one remaining was prepared for surface study by scanning electron microscope. The control group was immersed 10 minutes in deionized water for 90 cycles and the test group was immersed 10 minutes in 1% NaOCl solution for 90 cycles. The surface roughness (Ra, µm) were tested before and after immersion. The percentage of mean surface roughness change for each specimen of control group and test group was calculated. The data was analyzed using t-test (α = 0.05) Result: The percentage of mean surface roughness change of the control and the test group was not significantly different (p=0.087). Conclusions: Denture disinfection by 10 minutes immersion in 1% NaOCl did not adversely affect the surface roughness of chemical cured hard relining material. 2020-07-16T07:36:47Z 2020-07-16T07:36:47Z 2557 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 105-114 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_362.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68891 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ความหยาบผิว โซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 1 วัสดุเสริมฐานฟันเทียมเรซินอะคริลิกแบบแข็งชนิดก่อตัวด้วยปฏิกิริยาเคมี Surface roughness, 1% Sodium hypochlorite Chemical cured hard denture relining material |
spellingShingle |
ความหยาบผิว โซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 1 วัสดุเสริมฐานฟันเทียมเรซินอะคริลิกแบบแข็งชนิดก่อตัวด้วยปฏิกิริยาเคมี Surface roughness, 1% Sodium hypochlorite Chemical cured hard denture relining material บุษบา ศราสิทธิ์สันติกุล ฤดีรัตน์ กัลยาณภาคย์ กุลภพ สุทธิอาจ ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
บุษบา ศราสิทธิ์สันติกุล ฤดีรัตน์ กัลยาณภาคย์ กุลภพ สุทธิอาจ |
author_facet |
บุษบา ศราสิทธิ์สันติกุล ฤดีรัตน์ กัลยาณภาคย์ กุลภพ สุทธิอาจ |
author_sort |
บุษบา ศราสิทธิ์สันติกุล |
title |
ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
title_short |
ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
title_full |
ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
title_fullStr |
ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
title_full_unstemmed |
ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
title_sort |
ผลของสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อความหยาบผิวของเรซินอะคริลิกเสริมฐานฟันเทียมแบบแข็ง |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_362.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68891 |
_version_ |
1681752733014556672 |