ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_364.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68896 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-68896 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบ เรซินซีเมนต์ ค่ากำลังแรงยึดเฉือน dual-cured activator resin cement shear bond strength |
spellingShingle |
สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบ เรซินซีเมนต์ ค่ากำลังแรงยึดเฉือน dual-cured activator resin cement shear bond strength ศิวพร ศุภประภาวณิชย์ วีรนุช ทองงาม ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
ศิวพร ศุภประภาวณิชย์ วีรนุช ทองงาม |
author_facet |
ศิวพร ศุภประภาวณิชย์ วีรนุช ทองงาม |
author_sort |
ศิวพร ศุภประภาวณิชย์ |
title |
ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_short |
ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_full |
ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_fullStr |
ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_full_unstemmed |
ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
title_sort |
ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_364.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68896 |
_version_ |
1681752733939400704 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-688962020-07-16T07:36:47Z ผลของการใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบร่วมกับสารยึดติดต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือน ของเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟัน The effect of dual-cured activator with adhesive on shear bond strength of resin cement and dentin ศิวพร ศุภประภาวณิชย์ วีรนุช ทองงาม สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบ เรซินซีเมนต์ ค่ากำลังแรงยึดเฉือน dual-cured activator resin cement shear bond strength เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของสารกระตุ้นการเกิด ปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบ (ซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์ซอลดีซีเอ) ใช้ร่วมกับซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์ซอลแอดฮีซีฟต่อค่ากำลัง แรงยึดเฉือนของเรซินซีเมนต์ชนิดรีไลย์เอ็กซ์อัลทิเมทกับ เนื้อฟัน วัสดุและวิธีการ: นำฟันกรามแท้ล่างซี่ที่สามของมนุษย์ จำนวน 34 ซี่ ตัดแบ่งครึ่งในแนวใกล้กลางไกลกลาง ตัดผิว ฟันบริเวณกึ่งกลางด้านใกล้แก้มและใกล้ลิ้นให้เนื้อฟันเผย ผึ่งเป็นระนาบ สุ่มชิ้นทดสอบแบ่งเป็น 4 กลุ่ม (n=17) นำ มากัดด้วยกรดฟอสฟอริกความเข้มข้นร้อยละ 34 นาน 15 วินาทีแล้วล้างออก กลุ่มที่ 1 (NDCA+LC) และกลุ่มที่ 2 (NDCA+NLC) ทาซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์ซอลแอดฮีซีฟบนิวฟัน กลุ่มที่ 3 (DCA+LC) และกลุ่มที่ 4 (DCA+NLC) ทาซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์ซอลแอดฮีซีฟผสมซิงเกิลบอนด์ยูนิ เวอร์ซอลดีซีเอบนผิวฟัน ยึดแท่งเรซินคอมโพสิตลงบนชิ้น ทดสอบด้วยรีไลย์เอ็กซ์อัลทิเมท จากนั้นกลุ่มที่ 1 และกลุ่ม ที่ 3 ฉายแสงผ่านแท่งเรซินคอมโพสิต กลุ่มที่ 2 และกลุ่ม ที่ 4 ทิ้งไว้ในกล่องทึบแสงนาน 15 นาที นำชิ้นงานทั้งหมด แช่ในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง จากนั้นนำชิ้นทดสอบกลุ่มละ 15 ชิ้นทดสอบค่ากำลังแรง ยึดเฉือนโดยใช้เครื่องทดสอบสากล นำค่าเฉลี่ยกำลังแรง ยึดเฉือนที่ได้ของแต่ละกลุ่มมาวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ด้วยการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูกี้ ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 จำแนกพื้นผิวการแตกหักของแต่ละตัวอย่างด้วย กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง นำชิ้นทดสอบกลุ่มละ 2 ชิ้นมา ตัดกึ่งกลางและส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบ ส่องกราดเพื่อดูลักษณะพื้นผิวการยึดติดของเรซินและเนื้อฟัน ผลการศึกษา: กลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดเฉือนมาก ที่สุดคือ กลุ่มที่ 3 (25.18±6.42 เมกะปาสคาล) ตามด้วย กลุ่มที่ 1 (22.18±2.73 เมกะปาสคาล) กลุ่มที่ 4 (6.27±3.96 เมกะปาสคาล) และกลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดเฉือนน้อย ที่สุดคือกลุ่มที่ 2 (4.48±2.73 เมกะปาสคาล) โดยไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่ม ที่ใช้และไม่ใช้สารกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาบ่มตัวสองแบบ แต่ค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดเฉือนของกลุ่มที่มีการฉายแสงมีค่า มากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการฉายแสงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ลักษณะความล้มเหลวที่พบส่วนใหญ่เป็นแบบผสม สรุป: การใช้ซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์ซอลดีซีเอร่วมกับ ซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์ซอลแอดฮีซีฟไม่มีผลต่อค่ากำลังแรง ยึดเฉือนของเรซินซีเมนต์รีไลย์เอ็กซ์อัลทิเมทกับเนื้อฟัน Purpose: To investigate the effect of dual-cured activator (Single Bond Universal DCA) combined with Single Bond Universal adhesive on shear bond strength of RelyX™ Ultimate resin cement and dentin. Materials and Methods: Thirty-four third molars were sectioned mesio-distally. Their external of mid-buccal and lingual surfaces were ground into the flat plane to expose dentin. They were randomly divided into four groups (n=17) and etched with 34% phosphoric acid for 15 seconds. Single Bond Universal adhesive was applied to Group 1 (NDCA+LC) and Group 2 (NDCA+NLC). A mixture of Single Bond Universal adhesive and Single Bond Universal DCA was applied to Group 3 (DCA+LC) and Group 4 (DCA+NLC). Resin composite rods were bonded to the specimen with RelyX™ Ultimate. Groups 1 and 3 specimens were light-cured through the resin composite rods. Groups 2 and 4 specimens were kept in an dark box for 15 minutes. All specimens were then stored in 37°C distilled water for 24 hours. Fifteen specimens from each group were loaded in a Universal Testing Machine for shear bond strength testing. Mean shear bond strength from each group was analyzed by One-way ANOVA and Tukey multiple comparison test (p<0.05). The failure surfaces of resin cement and dentin were examined by light stereomicroscope. Two pieces of specimens in each group were cross-section at the middle and observed the resin-dentin interface by SEM. Results: The highest mean shear bond strength was Group 3 (25.18±6.42 Mpa) followed by Group 1 (22.18±2.73 Mpa), Group 4 (6.27±3.96 Mpa) and Group 2 (4.48±2.73 Mpa). No statistical differences were found between group which use and not use dual-cured activator. The statistical significantly higher bond strength was found in light cured groups. Mixed failure mode presented in almost all specimens. Conclusions: Using Single Bond Universal DCA with Single Bond Universal adhesive has no effect on the shear bond strength of RelyX™ Ultimate resin cement and dentin. 2020-07-16T07:36:47Z 2020-07-16T07:36:47Z 2557 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 123-134 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_364.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68896 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |