ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปภาวี ศรีสุวรรณวัฒนา, ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2556_34_2_335.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68908
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-68908
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สารตั้งต้นปฏิกิริยา
เรซินซีเมนต์
สารยึดติด
ระบบเซลฟ์เอตซ์
ค่าความแข็งแรงยึดเฉือน
เทอร์เทียรีเอมีน
initiator agents
resin cement
selfetch adhesive system
shear bond strength
spellingShingle สารตั้งต้นปฏิกิริยา
เรซินซีเมนต์
สารยึดติด
ระบบเซลฟ์เอตซ์
ค่าความแข็งแรงยึดเฉือน
เทอร์เทียรีเอมีน
initiator agents
resin cement
selfetch adhesive system
shear bond strength
ปภาวี ศรีสุวรรณวัฒนา
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ปภาวี ศรีสุวรรณวัฒนา
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
author_facet ปภาวี ศรีสุวรรณวัฒนา
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
author_sort ปภาวี ศรีสุวรรณวัฒนา
title ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
title_short ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
title_full ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
title_fullStr ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
title_full_unstemmed ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
title_sort ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2556_34_2_335.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68908
_version_ 1681752736113098752
spelling th-cmuir.6653943832-689082020-07-16T07:36:47Z ความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟันในส่วนตัวฟัน Shear Bond Strength Between Resin Cements with Self-etch Adhesive Systems and Coronal Dentin ปภาวี ศรีสุวรรณวัฒนา ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์ สารตั้งต้นปฏิกิริยา เรซินซีเมนต์ สารยึดติด ระบบเซลฟ์เอตซ์ ค่าความแข็งแรงยึดเฉือน เทอร์เทียรีเอมีน initiator agents resin cement selfetch adhesive system shear bond strength เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างผิวเนื้อฟันกับเรซินซีเมนต์ที่ใช้และไม่ใช้เทอร์เทียรีเอมีนเมื่อใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตซ์แบบ 2 ขั้นตอน และขั้นตอนเดียว โดยใช้ฟันกรามถาวรซี่ที่สาม 63 ซี่ ตัดแบ่งครึ่งฟันในแนวใกล้กลางไกลกลาง ตัดผิวฟันด้านนอก ให้เนื้อฟันเผยผึ่ง สุมแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 42 ชิ้นกลุ่มที่ 1 ใช้พานาเวียเอฟสองจุดศูนย์ที่มีเทอร์เทียรีเอมีนร่วมกับอีดีไพรเมอร์ทู กลุ่มที่ 2 ใช้เนกซัสทรีที่ไม่มีเทอร์เทียรี่เอมีนร่วมกับออฟติบอนด์เอ็กซ์ที่อาร์เป็นสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตซ์แบบ 2 ขั้นตอน กลุ่มที่ 3 ใช้เนกซัสทรีร่วมกับออฟติบอนด์ออลอินวันเป็นสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตซ์แบบขั้นตอนเดียว ทำการยึดแท่งเรซินคอมโพสิตเข้ากับผิวเนื้อฟันด้วยเรซินซีเมนต์แต่ละชนิดแต่ละกลุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย กลุ่มแรก 22 ชิ้น แซ่น้ำ กลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมงอีกกลุ่ม 20 ชิ้นนำไปเข้าเครื่องเทอร์โมไซคลิง 5000 รอบในน้ำอุณหภูมิ 5 และ 55 องศาเซลเชียส นำชิ้นตัวอย่างกลุ่มละ 20 ชิ้น (ท-20) ทดสอบความแข็งแรงยึดเฉือนด้วยเครื่องทดสอบสากล นำค่าที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ ศึกษาลักษณะพื้นผิวการยึดติดด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่าค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนของเรซินซีเมนต์สามชนิดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.0ร) ในทั้งสองสภาวะ โดยกลุ่มที่ 2 ให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนสูงที่สุด รองลงมาคือกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 1 ให้ค่าต่ำที่สุด เวชินซีเมนต์ทุกกลุ่มหลังแซ่น้ำ 24 ชั่วโมงมีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนสูงกว่ากลุ่มเทอร์โมไซคลิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปได้ว่าเรซินซีเมนต์ที่ไม่มีเทอร์เทียรีเอมีนให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนสูงกว่าชนิดที่มีเทอร์เทียรีเอมีน และเมื่อใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตซ์แบบ 2 ขั้นตอนให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนสูงกว่าแบบขั้นตอนเดียว ความชื้นและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมีผลทำให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนเรซินซีเมนต์ลดลง To compare the shear strength of bonds between dentin and self-etch resin cement systems with or without tertiary amine, and that of bonds between 1- and 2-step self-etch adhesive systems. Sixty-three third molars were sectioned mesio-distally and their external surfaces were ground to expose dentin. They were randomly divided into three groups of forty-two half-tooth specimens: Group 1, Panavia™ F2.0 (which contains tertiary amine) with ED® Primer II, Group 2, Nexus® 3 (which contains free-tertiary amine) with OptiBond™ XTR (a 2-step self-etch adhesive system) and Group 3, Nexus® 3 with OptiBond™ All-In-One (a 1-step self-etch adhesive system). Resin composite rods were bonded to each specimen in all three groups with the respective resin cements. Each group was divided into two subgroups. The first subgroup, consisting of twenty-two specimens, was stored in distilled water at 37°C for 24 hours and the second subgroup, consisting of twenty specimens, was subjected to thermocycling (5000 cycles, in water baths at 5°C and 55°C). Twenty specimens (n=20) from each subgroup were loaded in a Universal Testing Machine for shear bond strength testing. The resin-dentin interfaces of each first subgroup were examined by SEM. The mean shear bond strength of three different resin cement groups were significantly different (p<0.05) in both conditions. The highest mean shear bond strength was obtained with Group 2, followed by Group 3 and Group 1 showed the lowest bond strength. The mean shear bond strength of the water storage groups were significantly higher than those of the thermocycling groups. In conclusions, the shear bond strength of the resin cement without tertiary amine seems better than the resin cement that contains tertiary amine. And when the resin cement without tertiary amine was used with the 2-step self-etch adhesive, it provided greater bond strength than with the 1-step self-etch adhesive. Thermocycling process decreased the shear strength of bonds between resin cementsand dentin. 2020-07-16T07:36:47Z 2020-07-16T07:36:47Z 2556 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 34,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556), 93-106 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2556_34_2_335.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68908 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่