การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกและตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน การหาความตรงเชิงเนื้อหาอาศัยวิธีการหาค่าคะแนนดัชนีความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน การหาความตรงเชิงโครงสร้างหาด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยืนยันและด้านความเที่ยงแบบค่าควา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ไอลดา ป้อมเงิน
Other Authors: รศ. เทียม ศรีคำจักร์
Format: Theses and Dissertations
Language:other
Published: เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Online Access:http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69493
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: other
id th-cmuir.6653943832-69493
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-694932020-08-11T02:22:25Z การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก Development of the Sensory Patterns Assessment ไอลดา ป้อมเงิน รศ. เทียม ศรีคำจักร์ รศ. ดร. สุภาวดี พุฒิหน่อย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกและตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน การหาความตรงเชิงเนื้อหาอาศัยวิธีการหาค่าคะแนนดัชนีความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน การหาความตรงเชิงโครงสร้างหาด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยืนยันและด้านความเที่ยงแบบค่าความสอดคล้องภายในหาด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจำนวน 400 คน เป็นผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอ ดอยสะเก็ด และอำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และด้านความเที่ยงแบบทดสอบซ้ำหาด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้น จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน หลังจากทำแบบประเมินครั้งแรกไป 1 สัปดาห์ ผลการวิจัยในการพัฒนาได้แบบประเมินซึ่งประกอบด้วย 2 ชุดย่อย ได้แก่ แบบประเมินชุดที่ 1: ความชอบทางการรับความรู้สึก จำนวน 35 ข้อ และชุดที่ 2: ระดับการรับรู้สิ่งเร้าทางการรับความรู้สึก จำนวน 25 ข้อ แต่ละชุดแบ่งเป็น 6 หมวดหมู่ตามประเภทการรับความรู้สึกได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การดมกลิ่นและรับรส กายสัมผัส การทรงตัว และการรับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ จากการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหามีค่าคะแนนดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมิน ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 ความเที่ยงแบบค่าความสอดคล้องภายในมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบประเมินชุดที่ 1 เท่ากับ 0.89 และชุดที่ 2 เท่ากับ 0.62 ความเที่ยงแบบทดสอบซ้ำมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้นของแบบประเมินชุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.93 และ ชุดที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.77 สรุปแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกในวัยผู้ใหญ่มีค่าความตรงและความเที่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ 2020-08-11T02:22:25Z 2020-08-11T02:22:25Z 2020-02 Thesis http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69493 other เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language other
description งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกและตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน การหาความตรงเชิงเนื้อหาอาศัยวิธีการหาค่าคะแนนดัชนีความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน การหาความตรงเชิงโครงสร้างหาด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยืนยันและด้านความเที่ยงแบบค่าความสอดคล้องภายในหาด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจำนวน 400 คน เป็นผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอ ดอยสะเก็ด และอำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และด้านความเที่ยงแบบทดสอบซ้ำหาด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้น จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน หลังจากทำแบบประเมินครั้งแรกไป 1 สัปดาห์ ผลการวิจัยในการพัฒนาได้แบบประเมินซึ่งประกอบด้วย 2 ชุดย่อย ได้แก่ แบบประเมินชุดที่ 1: ความชอบทางการรับความรู้สึก จำนวน 35 ข้อ และชุดที่ 2: ระดับการรับรู้สิ่งเร้าทางการรับความรู้สึก จำนวน 25 ข้อ แต่ละชุดแบ่งเป็น 6 หมวดหมู่ตามประเภทการรับความรู้สึกได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การดมกลิ่นและรับรส กายสัมผัส การทรงตัว และการรับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ จากการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหามีค่าคะแนนดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมิน ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 ความเที่ยงแบบค่าความสอดคล้องภายในมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบประเมินชุดที่ 1 เท่ากับ 0.89 และชุดที่ 2 เท่ากับ 0.62 ความเที่ยงแบบทดสอบซ้ำมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้นของแบบประเมินชุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.93 และ ชุดที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.77 สรุปแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกในวัยผู้ใหญ่มีค่าความตรงและความเที่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
author2 รศ. เทียม ศรีคำจักร์
author_facet รศ. เทียม ศรีคำจักร์
ไอลดา ป้อมเงิน
format Theses and Dissertations
author ไอลดา ป้อมเงิน
spellingShingle ไอลดา ป้อมเงิน
การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
author_sort ไอลดา ป้อมเงิน
title การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
title_short การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
title_full การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
title_fullStr การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
title_full_unstemmed การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
title_sort การพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก
publisher เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69493
_version_ 1681752716195397632