ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57294/47508 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69793 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69793 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน (การสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลาย) โปรแกรมการเตรียมผู้ป่วย เครื่องกระตุ้นปลายประสาท Peripheral Nerve Block Patient’s Preparing Program Nerve Stimulator |
spellingShingle |
การให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน (การสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลาย) โปรแกรมการเตรียมผู้ป่วย เครื่องกระตุ้นปลายประสาท Peripheral Nerve Block Patient’s Preparing Program Nerve Stimulator วรรณิภา นุสุภะ เดชา ทำดี สรัตวดี หล่อสมฤดี ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
วรรณิภา นุสุภะ เดชา ทำดี สรัตวดี หล่อสมฤดี |
author_facet |
วรรณิภา นุสุภะ เดชา ทำดี สรัตวดี หล่อสมฤดี |
author_sort |
วรรณิภา นุสุภะ |
title |
ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
title_short |
ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
title_full |
ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
title_sort |
ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57294/47508 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69793 |
_version_ |
1681752784304603136 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-697932020-10-08T07:27:23Z ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิผลของการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลายโดยใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท Effects of the Patient’s Preparing Program for Regional Anesthesia on an Effectiveness of Nerve Stimulator-Assisted Peripheral Nerve Block วรรณิภา นุสุภะ เดชา ทำดี สรัตวดี หล่อสมฤดี การให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน (การสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลาย) โปรแกรมการเตรียมผู้ป่วย เครื่องกระตุ้นปลายประสาท Peripheral Nerve Block Patient’s Preparing Program Nerve Stimulator วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาทระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน (การสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลาย) เป็นเทคนิคใหม่ที่ใช้สำหรับการระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนการให้คำแนะนำและข้อมูลที่ดีในการเตรียมตัวก่อนการผ่าตัดเพื่อเข้ารับการฉีดยาชาเฉพาะส่วนจากทีมวิสัญญีจึงมีความจำเป็นต่อการได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ฉีดยาชาเฉพาะส่วนการศึกษากึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อน-หลังการทดลอง (one group pre-posttest design) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนต่อประสิทธิภาพของการใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท โดยคัดเลือกกลุ่มผู้ป่วยจำนวน 50 คน ที่มารับการผ่าตัดกระดูก และข้อบริเวณแขน และขา โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ภายใต้การได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนโดยการใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาทด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนความรู้ก่อน และหลังการเข้าร่วมโปรแกรมโดยใช้สถิติ independent t-test ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46 เข้ารับการผ่าตัดด้วยโรคระบบ Upper Extremity ผู้ป่วยจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 รับการผ่าตัดด้วยโรคระบบ Lower Extremity โดยหลังจากผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนโดยการใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาท พบว่า คะแนนความรู้เฉลี่ยเท่ากับ 9.16 (S.D.=0.84) มากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนโดยการใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาทที่มีคะแนนความรู้เฉลี่ยเท่ากับ 2.84(S.D.=0.74) ซึ่งมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) สรุปได้ว่า โปรแกรมการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนโดยการใช้เครื่องกระตุ้นปลายประสาททำให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้เกิดความสำเร็จของการสกัดเส้นประสาทโดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และผู้ป่วยมีความพึงพอใจอยู่ในช่วงพึงพอใจมากต่อการได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน Background: Using a nerve stimulator (NS) during performing peripheral nerve block (PNB) is a novel technique for regional anesthesia. A good patient advice and education on a preoperative preparation for PNB by an anesthesia team is necessary for a patientcooperation and a prevention of complications from PNB. Methods: A quasi-experimental design with one group pre-posttest aimed for determining an effect of patient’s preparing program for regional anesthesia on an effectiveness of NS-assisted PNB. Fifty patients scheduled for an orthopedic surgery of upperor lower extremity at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital under NS-guided PNB were selectedwith a purposive sampling. Descriptive data were demonstrated in frequency, percentage, means, and standard deviations. Pre- and post-education scores were comparatively analyzedby an independent t-test. Results: Twenty-three patients (46%) and 27 patients (54%) underwent upper extremitysurgery and lower extremity surgery. A mean scores of pre- and post-education with the patient’s preparing program were 2.84 (S.D. = 0.74) and 9.16 (S.D. = 0.84) respectively. The difference was statistically significant (p<.001). Conclusion: The patient’s preparing program for NS-assisted PNB enhanced patients’ understanding leading to successful PNBs with no complications and resulting in a high-levelof satisfaction in every patient. 2020-10-08T07:27:23Z 2020-10-08T07:27:23Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษธันวาคม 2558) 1-10 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57294/47508 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69793 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |