ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57259/47463 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69794 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69794 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การพัฒนาทักษะการสื่อสาร การป้องกันการติดเชื้อเอชอีวี ผู้ปกครอง บุตรวัยรุ่นตอนต้น Communication skill development HIV prevention Parents Early Adolescents |
spellingShingle |
การพัฒนาทักษะการสื่อสาร การป้องกันการติดเชื้อเอชอีวี ผู้ปกครอง บุตรวัยรุ่นตอนต้น Communication skill development HIV prevention Parents Early Adolescents อุษา หีดนาคราม นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล นงค์คราญ วิเศษกุล ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
อุษา หีดนาคราม นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล นงค์คราญ วิเศษกุล |
author_facet |
อุษา หีดนาคราม นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล นงค์คราญ วิเศษกุล |
author_sort |
อุษา หีดนาคราม |
title |
ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
title_short |
ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
title_full |
ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
title_fullStr |
ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
title_full_unstemmed |
ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
title_sort |
ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57259/47463 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69794 |
_version_ |
1681752784484958208 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-697942020-10-08T07:27:23Z ผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น Effect of Parent Communication Skill Development on CommunicationAbout HIV Prevention Between Parents and Early Adolescents อุษา หีดนาคราม นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล นงค์คราญ วิเศษกุล การพัฒนาทักษะการสื่อสาร การป้องกันการติดเชื้อเอชอีวี ผู้ปกครอง บุตรวัยรุ่นตอนต้น Communication skill development HIV prevention Parents Early Adolescents วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มเด็กวัยรุ่นและเยาวชนกำลังเป็นปัญหาสำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผู้ปกครองเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีให้กับบุตรวัยรุ่น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองชนิด 2 กลุ่มเปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองต่อการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีระหว่างผู้ปกครองกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลอง คือ ผู้ปกครองและบุตรวัยรุ่นตอนต้นที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดชุมพร อย่างละ 51 คน กลุ่มควบคุมเป็นผู้ปกครองและบุตรวัยรุ่นตอนต้นที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนอีก 1 แห่งในจังหวัดชุมพร อย่างละ 54 คน ทำการศึกษาระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กวัยรุ่นของผู้ปกครอง แบบสอบถามการรับรู้การสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของบุตรวัยรุ่น และแผนพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองเรื่องป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กวัยรุ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติไควสแคว์ สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์ สถิติทดสอบวิลคอกซัน และสถิติทดสอบ แมนวิทนีย์ยู ผลการวิจัย พบว่าหลังได้รับการพัฒนาทักษะการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กวัยรุ่นผู้ปกครองกลุ่มทดลองมีคะแนนมัธยฐานการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีกับบุตรวัยรุ่นตอนต้นเพิ่มขึ้นจาก 64 คะแนน เป็น 90 คะแนน จากคะแนนเต็ม 116 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001)และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ผู้ปกครองกลุ่มทดลองมีคะแนนมัธยฐานการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีกับบุตรวัยรุ่นตอนต้น 90 คะแนน มากกว่ากลุ่มควบคุมที่มีคะแนนเท่ากับ 66 คะแนน จากคะแนนเต็ม 116 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และบุตรวัยรุ่นในกลุ่มทดลองมีคะแนนมัธยยฐานการรับรู้การสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี เพิ่มขึ้นจาก 87 คะแนน เป็น96 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่า บุตรวัยรุ่นในกลุ่มทดลองมีคะแนนมัธยฐานการรับรู้การสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี 96คะแนน มากกว่าบุตรวัยรุ่นในกลุ่มควบคุมที่มีคะแนนเท่ากับ 70 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาทักษะการสื่อสารของผู้ปกครองเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กวัยรุ่น ส่งผลให้ผู้ปกครองมีการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีกับบุตรวัยรุ่นมากขึ้นดังนั้นควรนำการพัฒนาทักษะการสื่อสารเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กวัยรุ่นไปประยุกต์ใช้เพื่อให้ผู้ปกครองสื่อสารกับบุตรวัยรุ่นมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้บุตรวัยรุ่นสามารถป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอชไอวีได้ HIV infections have been a major problem and trends of the infections have been increasing among adolescents. Parents have a vital role in HIV prevention for their children. This experimental research (two-group pretest-posttest design) aimed to examine the effectof parent communication skills development in relation to HIV prevention between parentsand their early adolescents. The study sample in the experimental group consisted of 51 parents and 51 early adolescents who were studying in the seventh grade at one school in Chumphon Province. In the control group, there were 54 parents and 54 early adolescentswho were studying in the seventh grade at another school of Chumphon province. This study was performed during February to May 2013. The data collection tools consisted of a personal data questionnaire; a questionnaire on communication regardingHIV prevention;a questionnaire on perceptions of communication regarding HIV prevention; and parent communication skills development regarding the HIV prevention plan. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test, Fisher’s exact probability test, Wilcoxon test and Man Whitney U test. The results of the study revealed that after implementation of the communication skill development program, the median score of parental communication in the experimentalgroup increased significantly from 64 to 90 points (total score116 points) (p<.001). When comparing between groups, the experimental group had 90 points of parental communication,which was more than the control group, who had 66 points, with statistical significance (p< .001). In addition, after implementation of the program, the median score of early adolescentperceptions regarding HIV prevention in the experimental group increased significantly from 87 to 96 points (total score 116 points) (p<.001). When comparing between the groups,the experimental group of earlyadolescents had perceptions at 96 points regarding HIV prevention, which was more than the control group, who had perceptions at 70 points, which is of statistical significance (p< .05). This study shows that the parent communication skill about HIV prevention in adolescents has increased the communication skills among parents.Therefore, parentcommunication skills development programs regarding HIV prevention in adolescent shouldbe applied to the promote parent communication skill which would result in enhancing the ability of their children to protect themselves from HIV infection 2020-10-08T07:27:23Z 2020-10-08T07:27:23Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษพฤศจิกายน 2558) 13-24 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57259/47463 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69794 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |