การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์, อะเคื้อ อุณหเลขกะ, วันชัย มุ้งตุ้ย
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57263/47465
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69799
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-69799
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
สถานสงเคราะห์คนชรา
Implementation of infection prevention and control
homes for the aged
spellingShingle การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
สถานสงเคราะห์คนชรา
Implementation of infection prevention and control
homes for the aged
ณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์
อะเคื้อ อุณหเลขกะ
วันชัย มุ้งตุ้ย
การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author ณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์
อะเคื้อ อุณหเลขกะ
วันชัย มุ้งตุ้ย
author_facet ณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์
อะเคื้อ อุณหเลขกะ
วันชัย มุ้งตุ้ย
author_sort ณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์
title การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
title_short การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
title_full การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
title_fullStr การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
title_full_unstemmed การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
title_sort การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57263/47465
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69799
_version_ 1681752785386733568
spelling th-cmuir.6653943832-697992020-10-08T07:27:23Z การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทย Implementation of Infection Prevention and Controlin Homes for the Aged, Thailand ณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์ อะเคื้อ อุณหเลขกะ วันชัย มุ้งตุ้ย การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ สถานสงเคราะห์คนชรา Implementation of infection prevention and control homes for the aged วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเป็นกิจกรรมที่สถานสงเคราะห์คนชราทุกแห่งควรดำเนินการการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ รวมทั้งอุปสรรคและความต้องการการสนับสนุนเพื่อการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพในสถานสงเคราะห์คนชราในประเทศไทย ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้อำนวยการหรือผู้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของสถานสงเคราะห์คนชรา จำนวน 25 คน ระยะเวลาดำเนินการวิจัยระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเนื้อหาหลักประกอบด้วย การกำหนดโครงสร้างการป้องกันการติดเชื้อ การเฝ้าระวังการติดเชื้อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การควบคุมการระบาด การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ การดูแลสุขภาพบุคลากร การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การให้ความรู้แก่บุคลากร การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการใช้ยาต้านจุลชีพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาได้รับแบบสอบถามคืนจากประชากรทั้งหมด ประชากรร้อยละ 92 เป็นเพศหญิงร้อยละ 20 เป็นผู้อำนวยการสถานสงเคราะห์คนชรา ร้อยละ 72 ไม่เคยได้รับการอบรมเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ การดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของสถานสงเคราะห์คนชราในภาพรวม พบว่ามีการดำเนินการเพียงร้อยละ 31.9 ของกิจกรรมทั้งหมด สถานสงเคราะห์คนชราไม่มีการกำหนดโครงสร้างการป้องกันการติดเชื้อร้อยละ 80 ไม่มีแนวปฏิบัติและไม่ได้ให้ความรู้แก่บุคลากรเกี่ยวกับการทำลายเชื้อและการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อ ร้อยละ 60 ไม่ได้ดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาต้านจุลชีพร้อยละ 36 การเฝ้าระวังการติดเชื้อร้อยละ 28 การให้ความรู้แก่บุคลากรและการจัดการสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 24 และการควบคุมการระบาดร้อยละ 20 อุปสรรคในการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา พบว่า ขาดอัตรากำลังผู้รับผิดชอบการป้องกันการติดเชื้อ (ร้อยละ 76) ขาดเทคโนโลยีสารสนเทศ (ร้อยละ 72) ขาดแนวปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อและไม่มีห้องแยกสำหรับผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อ (ร้อยละ 68) และขาดนโยบายด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (ร้อยละ 60) สถานสงเคราะห์คนชราร้อยละ 96 ต้องการแนวปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อและเทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล รองลงมา คือ การจัดกรอบอัตรากำลังผู้รับผิดชอบหลักในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (ร้อยละ 92) วิทยากรในการฝึกอบรม (ร้อยละ 88) นโยบายการป้องกันการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา (ร้อยละ 84) และตำราวิชาการด้านการป้องกันการติดเชื้อ (ร้อยละ 80) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำเสนอต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลสถานสงเคราะห์คนชรา เพื่อกำหนดนโยบาย กรอบอัตรากำลังผู้รับผิดชอบหลักและแนวปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ รวมทั้งส่งเสริมศักยภาพในการป้องกันการติดเชื้อของบุคลากรในสถานสงเคราะห์คนชรา นำไปสู่การลดปัญหาการติดเชื้อต่อไป Infection prevention and control (IPC) is an important activity that should be conductedin homes for the aged. This descriptive study aimed to determine IPC practices including obstacles and support needed for an effective IPC among home for the aged in Thailand. The study population was the directors or the main personnel responsible for the IPC in 25 homes for the aged. The study was conducted between June and August, 2013. The data was collected using an IPC questionnaire developed by the researcher using literature review. Main contents included: structure of infection prevention, surveillance of infection, isolation precautions, outbreak control, disinfection and sterilization, employee health, elderly health, employee education, environment control and antibiotic usage. Data was analyzed using descriptive statistics. Data was received from all populations. The study results revealed that 92% of population were female, 20% were the directors of homes for the aged. Seventy-two percent were not trained in IPC. Overall, implementation of IPC activities conducted by homes for the aged was only 31.9% of all activities. Eighty percent of homes for the aged did not establish a structure of infection prevention. Sixty percent did not have guidelines to educate their personnel in disinfection and sterilization and did not implement any activity relevant to antibiotic usage (36%), surveillance of infection (28%), employeeeducation and environment control (24%) and outbreak control (20%). The obstacles in implementing IPC of homes for the aged were lack of responsible personnel (76%),information technology (72%), IPC guidelines and isolation room for an infected elderly (68%) and IPC policy (60%). Ninety-six percent of homes for the aged needed IPC guidelines and information technology for data collection, followed by position for IPC responsible personnel (92%), educator for IPC training (88%), IPC policy (84%) and IPC textbooks (80%). The results can be proposed to responsible organizations of homes for the aged to establish IPC policy, position of IPC responsible personnel and guidelines includingstrengthening IPC competency of personnel of homes for the aged to decrease infections. 2020-10-08T07:27:23Z 2020-10-08T07:27:23Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษพฤศจิกายน 2558) 37-48 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57263/47465 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69799 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่