ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เนตรชนก พิมพ์บึง, ชดช้อย วัฒนะ, ธีรนุช ห้านิรัติศัย
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57266/47473
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69801
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-69801
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic โปรแกรมการจัดการอาการ
ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
การรักษาด้วยเคมีบำบัด
Symptom-Management Program
Colorectal Cancer Patients
Chemotherapy
spellingShingle โปรแกรมการจัดการอาการ
ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
การรักษาด้วยเคมีบำบัด
Symptom-Management Program
Colorectal Cancer Patients
Chemotherapy
เนตรชนก พิมพ์บึง
ชดช้อย วัฒนะ
ธีรนุช ห้านิรัติศัย
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author เนตรชนก พิมพ์บึง
ชดช้อย วัฒนะ
ธีรนุช ห้านิรัติศัย
author_facet เนตรชนก พิมพ์บึง
ชดช้อย วัฒนะ
ธีรนุช ห้านิรัติศัย
author_sort เนตรชนก พิมพ์บึง
title ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_short ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_full ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_fullStr ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
title_sort ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57266/47473
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69801
_version_ 1681752785750589440
spelling th-cmuir.6653943832-698012020-10-08T07:27:23Z ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด The Effects of a Symptom-management Program on Severity of Symptom and Nutritional Status among Colorectal Cancer Patients Receiving Chemotherapy เนตรชนก พิมพ์บึง ชดช้อย วัฒนะ ธีรนุช ห้านิรัติศัย โปรแกรมการจัดการอาการ ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก การรักษาด้วยเคมีบำบัด Symptom-Management Program Colorectal Cancer Patients Chemotherapy วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับเคมีบำบัด มักมีอาการข้างเคียงที่ส่งผลต่อภาวะทุพโภชนาการและก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมา การวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อความรุนแรงของอาการข้างเคียงจากยาเคมีบำบัดและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัดและเข้ารับการรักษาตัว ณ โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยสุ่มได้กลุ่มทดลองจำนวน 22 ราย และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 21 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับอาการโดยประยุกต์แนวคิด/แบบจำลองการจัดการอาการของดอดด์และคณะ (2544) กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวบข้อมูลประกอบด้วย แบบวัดความรุนแรงของอาการ เครื่องชั่งน้ำหนักและเครื่องตรวจระดับความเข้มข้นของเลือดซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนา ไคสแคว์ ฟิชเชอร์เอ็กแซกท์และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรม 4 สัปดาห์ 1) กลุ่มทดลองมีระดับความรุนแรงของอาการคลื่นไส้อาเจียนและท้องเสียน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p < .05) ขณะที่ความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบไม่แตกต่างกัน (p>.05) 2) กลุ่มทดลองมีภาวะโภชนาการดีกว่ากลุ่มควบคุมกล่าวคือ น้ำหนักตัวและระดับฮีมาโตคริท ลดลงน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p<.01 และ p<.05ตามลำดับ)แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการจัดการอาการมีประสิทธิภาพในการลดระดับความรุนแรงของอาการข้างเคียงจากเคมีบำบัดและช่วยแก้ปัญหาที่มีผลต่อภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับเคมีบำบัดได้ Patients with colorectal cancer receiving chemotherapy often experience side effects that lead to malnutrition and severe complications. This quasi-experimental research aimed to evaluate the effects of a Symptom-management program on severity of symptoms and nutritional status among colorectal cancer patients receiving chemotherapy. Subjects were colorectal patients who admitted for chemotherapy at Lopburi cancer hospital, Lopburi province. They were randomly assigned into two group 22 persons in the experimental group and 21 persons in the control group. The experimental group received the Symptom-management program that was modified based on Symptom- management Model (Dodd et al., 2001). Whereas the control group received usual care. Data were collected using symptom severity questionnaires,electronic-weighing scale, and the automated analyzer were tested for their psychometric and biometric properties. Data were analyzed using descriptive statistics,Chi-Square test, Fisher’s Exact test, and independent t-test. Results showed thatat four-week after enrollment; 1) The experimental group had Significant lower scores of symptoms severity including nausea, vomiting, and diarrhea than the control group (p<.05) whereas, the mucositis between two group was not significantly different (p>.05);2) The experimental groupdemounted a significant lesser decreased in a mean body of weight and hematocrit level than the control group (p<.01, and p<.05 , respectively). It can be concluded that the Symptom-management program is effective in reducing the severity of symptoms and solving the problem that affect nutritional status among colorectal patients receiving chemotherapy. 2020-10-08T07:27:23Z 2020-10-08T07:27:23Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษพฤศจิกายน 2558) 73-83 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57266/47473 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69801 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่