ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุธิศา ล่ามช้าง, ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน, ทิพาพร นักหล่อ, ปรีชา ล่ามช้าง
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57275/47482
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69803
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-69803
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การปฏิบัติ
บิดามารดา
เด็ก
การชักจากไข้สูง
practice
parents
children
febrile convulsion
spellingShingle การปฏิบัติ
บิดามารดา
เด็ก
การชักจากไข้สูง
practice
parents
children
febrile convulsion
สุธิศา ล่ามช้าง
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน
ทิพาพร นักหล่อ
ปรีชา ล่ามช้าง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author สุธิศา ล่ามช้าง
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน
ทิพาพร นักหล่อ
ปรีชา ล่ามช้าง
author_facet สุธิศา ล่ามช้าง
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน
ทิพาพร นักหล่อ
ปรีชา ล่ามช้าง
author_sort สุธิศา ล่ามช้าง
title ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
title_short ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
title_full ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
title_fullStr ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
title_full_unstemmed ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
title_sort ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57275/47482
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69803
_version_ 1681752786119688192
spelling th-cmuir.6653943832-698032020-10-08T07:27:23Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง Factors Related to Parental Practices for Children with Febrile Convulsion สุธิศา ล่ามช้าง ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน ทิพาพร นักหล่อ ปรีชา ล่ามช้าง การปฏิบัติ บิดามารดา เด็ก การชักจากไข้สูง practice parents children febrile convulsion วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล อาการชักจากไข้สูงในเด็กเป็นเหตุการณ์ที่คุกคามต่อชีวิต ทำให้บิดามารดามีความห่วงกังวลอย่างมากอาจนำไปสู่การปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม การศึกษาเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง กลุ่มตัวอย่างคือ บิดามารดาของเด็กที่มีอาการชักจากไข้สูง เด็กมีอายุ 1 วัน ถึง 6 ปี และเข้ารับการรักษาในแผนกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลลำปาง และโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ระหว่าง เดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2558 จำนวน 92 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม ความรู้ ทัศนคติ ความห่วงกังวลเกี่ยวกับอาการชักจากไข้สูง และการปฏิบัติของบิดา มารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง ซึ่งพัฒนาโดย ฮวง ฮวง และโทมัส (2549) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า บิดามารดาทั้งหมดรับรู้ว่าการเจ็บป่วยของเด็กเป็นปัญหา โดย ร้อยละ 64.1 บิดามารดาปฏิบัติเมื่อเด็กมีอาการชักจากไข้เป็นครั้งแรก โดย ร้อยละ 98.9 มีการปฏิบัติในขณะที่เด็กชัก บิดามารดามีปฏิบัติที่ควรทำ คือ ร้อยละ 54.3 ช่วยลดอุณหภูมิร่างกายของเด็ก ร้อยละ 22.8 ปกป้องอันตรายโดยให้นอนบนพื้นที่นุ่มและปลอดภัย ร้อยละ 35.9 จัดให้เด็กนอนตะแคง ร้อยละ 33.7 สงบสติอารมณ์ร้อยละ 52.2 สังเกตอาการและระยะเวลาของการชัก และมีปฏิบัติที่ไม่ควรทำ คือ ร้อยละ 81.5 รีบนำเด็กไปพบแพทย์อย่างเร่งด่วนโดยไม่ช่วยเหลือ ร้อยละ 69.6 เขย่าและปลุกขณะที่เด็กชัก ร้อยละ 63.0 กระตุ้นให้ตื่นขณะที่เด็กมีชัก ร้อยละ 12.0 พยายามช่วยเป่าปากฟื้นคืนชีพ ร้อยละ 25.0 งัดปากหรือฟันและสอดใส่สิ่งของเข้าในปากของเด็ก ร้อยละ 6.5 ช่วยดูดน้ำลายน้ำมูกจากจมูกและปาก ร้อยละ 2.2 ผูกยึดขณะที่เด็กชัก และร้อยละ 7.6 นวดหัวใจ ความรู้เกี่ยวกับอาการชักจากไข้สูงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.31, p< .01) แต่ทัศนคติและความห่วงกังวลเกี่ยวกับอาการชักจากไข้สูงไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับการปฏิบัติของบิดามารดาในเด็กที่ชักจากไข้สูง การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า บิดามารดาของเด็กที่มีอาการชักจากไข้สูงยังมีการปฏิบัติที่ควรทำน้อยและมีการปฏิบัติที่ไม่ควรทำมากและความรู้เกี่ยวกับอาการชักจากไข้สูงในเด็กมีสัมพันธ์กับการปฏิบัติของบิดามารดา ดังนั้น พยาบาลควรให้ข้อมูลหรือสอนบิดามารดาเกี่ยวกับการปฏิบัติในขณะที่เด็กมีอาการชักทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้บิดามารดาปฏิบัติในขณะที่เด็กมีอาการชักได้อย่างเหมาะสม Febrile convulsion in children is often interpreted as a life-threatening event by their parents, causing worry and leading to inappropriate practices. This correlational descriptivestudy aimed to explore factors related to parental practices on children suffering from febrile convulsion. A purposive sampling technique was used to recruit 92 parents of children with febrile convulsion. The children were aged 1 day to 6 years and were admittedto the pediatric unit of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Lampang Hospital, andBuddhachinaraj Pitsanulok Hospital during January to April 2015. The research instrumentsconsisted of questionnaires on Parental Knowledge, Attitude and Concerns toward Febrile Convulsion, and Parental Practices for Children with Febrile Convulsion developed by Huang, Huang, and Thomas (2006). Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman rank Correlation Coefficient. The study results revealed that: All parents (n=92) perceived their child’s illness as a problem. A proportion of 64.1% of parents experienced their children having a febrile convulsion for the first time. A proportion of 98.9% of the parents reported that they had done during the children had convulsion. Regarding first aid for seizures, some parents used recommended practices. For instance, 54.3% of parents lowered the child’s body temperature, 22.8% of parents placed the child on a soft and safe surface, 35.9% of parents positioned the child in a side-lying position, 33.7% of parents kept clam, and 52.2% of parents observed seizure manifestations and duration. Parents also used non-recommended practices. For instance, 81.5% of parents would rush the child to doctor without first aid, 69.6% of parents shook and tried to arouse the convulsing child, 63.0% of parents stimulated the convulsing child, 12.0% of parents attempted mouth-to-mouth resuscitation, 25.0% of parents tried to insert objects into the child’s mouth, 6.5% of parents sucked discharge from nose and mouth, 2.2% of parents restrained the convulsingchild, and 7.6% of parents performed cardiac massage. Knowledge of febrile convulsion was statistically significantly correlated to parental practices regarding febrile convulsion (r=.31, p< .01). Attitudes and concerns toward febrile convulsion were not statistically correlated to parental practices regarding febrile convulsion. The results from this study indicate that some parents of children with febrileconvulsion use recommended practices, yet most use non-recommended practices.Knowledge of febrile convulsion was correlated to parental practices. Thus nurses should give information or educate the parents regarding first aid for seizures in order to improve practices for the treatment of convulsing children 2020-10-08T07:27:23Z 2020-10-08T07:27:23Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษพฤศจิกายน 2558) 166-177 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57275/47482 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69803 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่