การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เรมวล นันท์ศุภวัฒน์, สมใจ ศิระกมล, สุชาดา จิระมหาวิทยากุล, มาลีจิตร์ ชัยเนตร
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57282/47499
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69813
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-69813
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การดูแลสุขภาพแนววิถีธรรมชาติ
การเสร้างเสริมสุขภาพ
สุขภาพองค์รวม
health promotion program
Natural health care
Holistic health
spellingShingle การดูแลสุขภาพแนววิถีธรรมชาติ
การเสร้างเสริมสุขภาพ
สุขภาพองค์รวม
health promotion program
Natural health care
Holistic health
เรมวล นันท์ศุภวัฒน์
สมใจ ศิระกมล
สุชาดา จิระมหาวิทยากุล
มาลีจิตร์ ชัยเนตร
การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author เรมวล นันท์ศุภวัฒน์
สมใจ ศิระกมล
สุชาดา จิระมหาวิทยากุล
มาลีจิตร์ ชัยเนตร
author_facet เรมวล นันท์ศุภวัฒน์
สมใจ ศิระกมล
สุชาดา จิระมหาวิทยากุล
มาลีจิตร์ ชัยเนตร
author_sort เรมวล นันท์ศุภวัฒน์
title การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
title_short การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
title_full การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
title_fullStr การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
title_full_unstemmed การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
title_sort การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57282/47499
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69813
_version_ 1681752787934773248
spelling th-cmuir.6653943832-698132020-10-08T07:27:24Z การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติ: การพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ แบบองค์รวมของโรงพยาบาลแม่ลาว Natural health care: Holistic health promotiondevelopment of Mae Lao Hospital เรมวล นันท์ศุภวัฒน์ สมใจ ศิระกมล สุชาดา จิระมหาวิทยากุล มาลีจิตร์ ชัยเนตร การดูแลสุขภาพแนววิถีธรรมชาติ การเสร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพองค์รวม health promotion program Natural health care Holistic health วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การดูแลสุขภาพตามแนววิถีธรรมชาติเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งที่สามารถดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและเป็นการใช้ฐานความรู้ดั้งเดิมจากชุมชนแบบธรรมชาติ และวัฒนธรรมเข้ามาในการพัฒนาสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ได้ผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพแบบองค์รวมและเป็นจุดเด่นของการป้องกัน (Preventive Healing) นอกจากนี้ สุขภาพแบบองค์รวม (Holistic Health) ยังให้ความสำคัญสูงสุดกับการทำงานเชื่อมโยงของร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ หากส่วนหนึ่งส่วนใดมีปัญหา จะส่งผลกระทบถึงส่วนอื่นๆที่เหลือ บทความนี้เป็นการสังเคราะห์และถอดบทเรียนโรงพยาบาลแม่ลาวที่ได้พัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมโดยเน้นการผสมผสานกับวิถีธรรมชาติโดยใช้กรอบแนวคิดคำประกาศออตตาวาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 5 ด้าน ได้แก่ การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การเสริมสร้างการดำเนินการในชุมชนที่เข้มแข็ง การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ ซึ่งปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ ประกอบด้วยปัจจัยด้านผู้บริหารและการบริหารจัดการ ทีมสุขภาพ ชุมชน และเครือข่ายสุขภาพ ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของการดำเนินงานประกอบด้วย ความยากลำบากในการเปลี่ยนแปลง การขาดผู้บริหารโครงการประจำ การขาดแคลนงบประมาณ การขาดความเข้าใจในแนวคิดองค์รวมและการขาดการเตรียมบุคลากรสำหรับดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่องในการบูรณาการการดูแลในแนววิถีธรรมชาติในบริการสุขภาพ บุคลากรด้านสุขภาพจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้อย่างแท้จริง และต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ทีมสุขภาพและชุมชน โดยเฉพาะผู้บริหารสูงสุดต้องเป็นผู้นำ มีความมุ่งมั่นและให้การสนับสนุนจึงจะประสบผลสำเร็จโรงพยาบาลและสถานให้บริการสุขภาพต่างๆควรหันมาให้ความสนใจและส่งเสริมให้มีการผสมผสานการดูแลในแนววิถีธรรมชาติในบริการสุขภาพหลักมากขึ้น ในขณะที่ฝ่ายการศึกษาก็ควรมีการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาซึ่งจะเป็นบุคลากรสุขภาพในอนาคตให้มีความสามารถในการดูแลในแนววิถีธรรมชาติมากขึ้นและสามารถปฏิบัติได้จริง Natural health care is one strategy to attract participation of community members using natural, original knowledge from the local culture in health promotion for individuals, families, and communities. The concept yields good outcomes in holistic health andpreventive healing. Holistic health is very important for the body, emotion, and mind connection. If any parts have a problem, it will affect the others. This article aimed to synthesize and draw lessons learned from the holistic health promotion program of Mae Lao Hospital using 5 action means of the Ottawa charter for health promotion as the framework. Those action means include building healthy public policy, creating supportive environments, strengthening community action, developing personal skills, and reorienting health services. Factors lead to success are the administrators and management, health care team, community, and health care network. In contrary, factors impeding the mission include the difficulties in changing people life style, lacking of the project manager, lacking budget, insufficiency in holistic health concept, and lacking of preparing pesonnel to operatethe project continually. Integrating natural health care in health care service, health personnel need certainly understand in this concept. This scheme needs corporation from all parts includingadministrators, health care team, and community. Especially, to be success, the top administrator has to be a leader and presents his or her commitment in this aim. Hospital and other health care services should reorient their focus and provide supports to promote integrating natural health care in the main stream of health care service. Despitethe fact that, education part should develop the students to have more competencies in providing natural health care practically. 2020-10-08T07:27:24Z 2020-10-08T07:27:24Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษพฤศจิกายน 2558) 221-232 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57282/47499 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69813 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่