อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53256/44220 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69836 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69836 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
อุปสรรค สิ่งสนับสนุน การป้องกันการติดเชื้อ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Barrie Facilitator Infection Prevention Professional Nurse Tertiary Care Hospital |
spellingShingle |
อุปสรรค สิ่งสนับสนุน การป้องกันการติดเชื้อ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Barrie Facilitator Infection Prevention Professional Nurse Tertiary Care Hospital กิตติรัตน์ สวัสดิ์รักษ์ อะเคื้อ อุณหเลขกะ วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
กิตติรัตน์ สวัสดิ์รักษ์ อะเคื้อ อุณหเลขกะ วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ |
author_facet |
กิตติรัตน์ สวัสดิ์รักษ์ อะเคื้อ อุณหเลขกะ วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ |
author_sort |
กิตติรัตน์ สวัสดิ์รักษ์ |
title |
อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
title_short |
อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
title_full |
อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
title_fullStr |
อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
title_full_unstemmed |
อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
title_sort |
อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53256/44220 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69836 |
_version_ |
1681752792139563008 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-698362020-10-08T07:27:24Z อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Barriers to and Facilitators of Infection Prevention Practices among Professional Nurses in Tertiary Care Hospitals กิตติรัตน์ สวัสดิ์รักษ์ อะเคื้อ อุณหเลขกะ วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ อุปสรรค สิ่งสนับสนุน การป้องกันการติดเชื้อ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Barrie Facilitator Infection Prevention Professional Nurse Tertiary Care Hospital วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลมีความสำคัญต่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรของโรงพยาบาล สามารถลดอุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาลและค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลได้ การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื ้อของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 12 แห่ง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยของโรงพยาบาลที่ศึกษา จำนวน 470 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วนคือ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อ ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของอุปสรรคและสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อ เท่ากับ .94 และ .88 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .96 และ .95 ตามลำดับ รวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนกันยายน ถึงเดือนตุลาคมพ.ศ. 2556 ได้รับแบบสอบถามคืนคิดเป็นร้อยละ 99. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเห็นว่าอุปสรรคการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพ ทั้ง 7 ด้าน คือ การขาดความตระหนัก ความไม่คุ้นเคยกับแนวปฏิบัติ การไม่เห็นด้วยกับแนวปฏิบัติ การขาดการคาดหวังผลลัพธ์ การขาดความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง การขาดแรงจูงใจต่อการปฏิบัติและอุปสรรคจากภายนอกเป็นอุปสรรคในระดับน้อย สิ่งสนับสนุนการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อของพยาบาลวิชาชีพ ด้านบุคคลและด้านองค์กร เป็นสิ่งสนับสนุนในระดับมาก ส่วนด้านสิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งสนับสนุนในระดับปานกลาง ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นความจำเป็นในการสนับสนุนด้านบุคคลและด้านองค์กร เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพสามารถปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น Infection prevention practices are important for patient and hospital personnelsafety as it can help reduce the incidence of hospital-associated infections and hospitalcosts. This descriptive research aimed to determine barriers and facilitators of infection prevention practices among professional nurses working in 12 tertiary care hospitals under the Ministry of Public Health. The study samples were 470 professional nurses working in wards of the study hospitals. The research instrument was a questionnaire which consisted of 3 parts: a general information of responders, barriers to and facilitatorsof infection prevention practices. The content validity indexes of barriers to infection prevention practice questions and facilitators of infection prevention practice questions were .94 and .88 respectively. The Cronbach’s coefficient alpha for the reliability of the two parts were .96 and .95 respectively. Data were collected during September to October, 2013. The response rate was 99.4%. Data were analyzed using descriptive statistics. Research findings revealed that the overall mean scores of the 7 barriers to infection prevention practices among professional nurses included lack of awareness, lack of familiarity, lack of agreement with guidelines, lack of outcome expectancy, lack of self-efficacy, lack of motivation and external barriers were at a low level. The overall mean scores of the facilitators of infection prevention practices among professional nurses included individual and organizational factors were at a high level. Theenvironmental factor was at a moderate level. The results of this study indicate the need insupporting individual and organizational factors in order to enhance infection prevention practices amongprofessional nurses to be more effectively. 2020-10-08T07:27:24Z 2020-10-08T07:27:24Z 2558 พยาบาลสาร 42,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2558) 25-35 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53256/44220 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69836 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |