ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53260/150363 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69842 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69842 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ภาวะซึมเศร้า วัยรุ่น การรับรู้ต่อปัญหา รูปแบบวิธีการเผชิญปัญหา Depression Adolescence Problem-realization Format of problem-solving |
spellingShingle |
ภาวะซึมเศร้า วัยรุ่น การรับรู้ต่อปัญหา รูปแบบวิธีการเผชิญปัญหา Depression Adolescence Problem-realization Format of problem-solving พัชราวรรณ แก้วกันทะ สมพร รุ่งเรืองกลกิจ ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
พัชราวรรณ แก้วกันทะ สมพร รุ่งเรืองกลกิจ |
author_facet |
พัชราวรรณ แก้วกันทะ สมพร รุ่งเรืองกลกิจ |
author_sort |
พัชราวรรณ แก้วกันทะ |
title |
ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
title_short |
ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
title_full |
ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
title_fullStr |
ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
title_full_unstemmed |
ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
title_sort |
ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53260/150363 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69842 |
_version_ |
1681752793257345024 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-698422020-10-08T07:27:25Z ความชุกของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย Prevalence of Depression In Higher Education Students In Chiangrai Province พัชราวรรณ แก้วกันทะ สมพร รุ่งเรืองกลกิจ ภาวะซึมเศร้า วัยรุ่น การรับรู้ต่อปัญหา รูปแบบวิธีการเผชิญปัญหา Depression Adolescence Problem-realization Format of problem-solving วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ปัจจุบันภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับอุดมศึกษามีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการเรียนของนักศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้า การรับรู้ต่อปัญหาและรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย วิธีการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4 อายุ 18-22 ปี เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบประเมินซึมเศร้า (CES-D) แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ต่อปัญหา และแบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาของนักศึกษา แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาได้เท่ากับ 0.92 โครงการวิจัยได้รับความเห็นชอบด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และผู้วิจัยคำนึงถึงการพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่างทุกขั้นตอนของการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและไคสแควร์ ผลการวิจัยกลุ่มตัวอย่างมีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 31.9 เป็นชาย ร้อยละ 30.9 หญิง ร้อยละ 32.3 คณะที่มีภาวะซึมเศร้ามากที่สุด คือ คณะพยาบาลศาสตร์ ร้อยละ 36.1 โดยจำนวนนักศึกษาที่มีการรับรู้ต่อปัญหาของนักศึกษาที่มีภาวะซึมเศร้าและไม่มีภาวะซึมเศร้า 5 ลำดับแรกใกล้เคียงกัน แต่ต่างกันตรง ลำดับของปัญหาพบว่าร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่มีการรับรู้ต่อปัญหาในกลุ่มที่มีภาวะซึมเศร้ามีมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05นักศึกษาชายและหญิงที่มีภาวะซึมเศร้ามีการรับรู้ต่อปัญหาใน 5 ลำดับแรกใกล้เคียงกัน ต่างกันตรงลำดับของปัญหาพบว่าร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่มีการรับรู้ต่อปัญหาในกลุ่มนักศึกษาชายมีมากกว่ากลุ่มนักศึกษาหญิงทั้งกลุ่มที่มีภาวะซึมเศร้าและไม่มีภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนจำนวนนักศึกษาที่มีภาวะซึมเศร้าและไม่มีภาวะซึมเศร้าที่ใช้รูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาใน 5 ลำดับแรกใกล้เคียงกัน ต่างกันตรงลำดับของรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหา และเมื่อพิจารณาความแตกต่างของรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาในนักศึกษาที่มีภาวะซึมเศร้าและนักศึกษาที่ไม่มีภาวะซึมเศร้า พบว่า ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่มีภาวะซึมเศร้าที่ใช้รูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหามีมากกว่าจำนวนร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่ไม่มีภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 นักศึกษาชายและหญิงที่มีภาวะซึมเศร้ามี รูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาของ 5 ลำดับแรกใกล้เคียงกัน แต่ต่างกันตรงลำดับของรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหา ซึ่งเมื่อพิจารณาความแตกต่างของรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาของนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงที่มีภาวะซึมเศร้า พบว่า จำนวนนักศึกษาชายและหญิงที่ใช้รูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุป จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า แม้ว่าจำนวนนักศึกษาในกลุ่มที่ไม่มีภาวะซึมเศร้า จะมีการรับรู้ต่อการมีปัญหามากกว่ากลุ่มที่มีภาวะซึมเศร้า แต่กลุ่มที่ไม่มีภาวะซึมเศร้ามีรูปแบบของการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมมากกว่า และในกลุ่มนักศึกษาชายที่มีภาวะซึมเศร้าจะมีการใช้รูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่เหมาะสมมากกว่านักศึกษาหญิงซึ่งรูปแบบวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่เหมาะสมนี้อาจเป็นโอกาสเสี่ยงที่นักศึกษาชายจะมีปัญหาด้านอื่นตามมา ดังนั้นสถาบันการศึกษาควรจัดให้มีกิจกรรมเสริมทักษะเรื่องการให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน เพื่อที่จะได้เป็นผู้ให้คำปรึกษาที่ดีเมื่อเพื่อนมาขอรับคำปรึกษาและนักศึกษาสามารถหาแหล่งสนับสนุนในการช่วยเพื่อนที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและจะได้ช่วยป้องกันภาวะซึมเศร้า The current depression in higher education students tend to be more severe. Affect the success of students. The present study aims to investigate the prevalence of depression, the problem recognition, and the solutions to the problem among the group of students from one university in Chiang rai Province. Methodology: The target group is undergraduate-level students, 1st-4th year, randomized by using stratified sampling. The data were collected by questionnaires consisting of CES-D, problem-recognition questionnaire, and solution questionnaire. Both questionnaires were content validated index was 0.92. The study was approved for humansubject protections and the researchers maintained the rights and welfare of all participants throughout the entire study. The data were analyzed by using frequency distribution, percentage, means, standard deviation and chi-square. Results: The sample groups who had depression were 31.9% male 30.9% and 32.3%female. The faculty mostly found students with depression was Faculty of Nursing (36.1%).The numbers of students who recognized the problem and did not were similar in the first five orders, but different in terms ranking at statistical significance of.05. Both male and female students with depression recognized the problems in the similar first five orders, but different in terms of ranking. It was also found that the percentage of those who recognized the problem and did not was higher in male than female, both with and without depression. The difference was statistical significance (.05). The students with and without depression employed the problem solutions similarly in the first five orders, only different in terms of ranking. When examining the differences in employing problem solutions between the students with and without depression, it was found that the percentage of students with depression who employed solutions to the problem was higher than the percentage of those without depression at the statistical significance of .05. The solution formats in the group with depression were similar in the first five orders, but different in ranking. When considering the male and female with depression, it was found that the numbers of male and female who employed solution were different at statistical significance of .05. Conclusion: According to the study, although the students without depressionrecognized the problem more than the group with depression, but this group employed more appropriate solutions. Furthermore, male students with depression employed less appropriate solutions than female students. This make them being risk to other consequent problems. Thus, the university should provide activities giving advices about mental problems, so the students can help their friends with the problems effectively, leading to the decrease of depression prevalence. 2020-10-08T07:27:25Z 2020-10-08T07:27:25Z 2558 พยาบาลสาร 42,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2558) 48-64 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53260/150363 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69842 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |