การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53292/44250 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69845 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69845 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ Perceived Benefits Perceived Barriers Health Promoting Behaviors Pregnant Women |
spellingShingle |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ Perceived Benefits Perceived Barriers Health Promoting Behaviors Pregnant Women มะไลทอง วาปี สุกัญญา ปริสัญญกุล ปิยะนุช ชูโต การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
มะไลทอง วาปี สุกัญญา ปริสัญญกุล ปิยะนุช ชูโต |
author_facet |
มะไลทอง วาปี สุกัญญา ปริสัญญกุล ปิยะนุช ชูโต |
author_sort |
มะไลทอง วาปี |
title |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
title_short |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
title_full |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
title_fullStr |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
title_full_unstemmed |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
title_sort |
การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53292/44250 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69845 |
_version_ |
1681752793800507392 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-698452020-10-08T07:27:25Z การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Perceived Benefits, Perceived Barriers of Health Promotion and Health Promoting Behaviors of Pregnant Women, The Lao People’s Democratic Republic มะไลทอง วาปี สุกัญญา ปริสัญญกุล ปิยะนุช ชูโต การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ Perceived Benefits Perceived Barriers Health Promoting Behaviors Pregnant Women วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้หญิงมีครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพที่สมบูรณ์และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ โดยใช้ทฤษฏี พฤติกรรมการสร้างเสริ มสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender, 2006) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษากลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงมีครรภ์ปกติที่มีอายุครรภ์ 37 ถึง 40 สัปดาห์ และมาใช้บริการที่หน่วยฝากครรภ์โรงพยาบาลแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 85 ราย ระหว่างเดือนตุลาคม ถึง เดือนธันวาคม ปี พ.ศ 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แบบสอบถาม การรับรู้ประโยชน์ของการสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ และแบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ของมยุรี นิรัตธราดร (2539) และแบบสอบถามพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ของญาณิศา วงค์ภูคำ (2551)วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าการรับรู้ประโยชน์ของการสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.32, SD = 0.49) การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.40, SD = 0.83) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์โดยรวมอยู่ในระดั บปานกลาง (x̅ = 2.46, SD = 0.45) การรับรู้ประ โยชน์ของการสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์ โดยรวมอยู่ในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .258, p<.01) การรับรู้อุปสรรคของการสร้างเสริมสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของหญิงมีครรภ์โดยรวม ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลผดุงครรภ์ในหน่วยฝากครรภ์ควรส่งเสริมหญิงมีครรภ์ให้รับรู้ถึงประโยชน์ของการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้หญิงมีครรภ์มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีตลอดระยะการตั้งครรภ์ Health promotion is important for the health of pregnant women and their fetuses as well as for preventingcomplications thatcan occurduring pregnancy. This correlational descriptive research study, examined the relationship of perceived benefits, perceived barriers of health promotion and health promoting behaviors of pregnant women. Using a healthpromotion theory developed by Pender (2006). The sample included normal pregnantwomen with gestational age between 37-40 weeks, who attended the antenatal unit at Savannaket Province Hospital, the Lao People’s Democratic Republic. Eighty-five pregnant women were purposively selected between October and December 2012. The researchinstruments were Perceived Benefits of health promotion among pregnant women questionnaire,Perceived Barriers of health promotion among pregnant women questionnaire developed by Mayuree Nirattharadorn (1996) and Health Promoting Behaviors questionnaire developed by Yanisa Wongpukhum (2008). Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient. Research results revealed that : Perceived benefits of health promotion among pregnantwomen was at a high level (x̅ = 4.32, SD = 0.49),.Perceived barriers for health promotion amongpregnant women was at a moderate level (x̅ = 3.40, SD = 0.83), Health promoting behaviors of the pregnant women was at a moderate level (x̅ = 2.46, SD. = 0.45), Perceived benefits of healthpromotion had a positive correlation with the overall health promoting behaviors of pregnant women (r = .258, p < 01.), and Perceived barriers of health promotion did not have a correlationwith the overall health promoting behaviors of pregnant women. These results suggest that the nurse- midwives in the antenatal unit should promote the benefits of health promotion to encourage these behaviors in pregnant womenthroughout their pregnancy. 2020-10-08T07:27:25Z 2020-10-08T07:27:25Z 2558 พยาบาลสาร 42,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2558) 108-119 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/53292/44250 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69845 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |