พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57307/47520 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69858 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69858 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ Health Promotion Behavior thnic Group Sgaw Karens |
spellingShingle |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ Health Promotion Behavior thnic Group Sgaw Karens ศิวาพร มหาทำนุโชค พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
ศิวาพร มหาทำนุโชค |
author_facet |
ศิวาพร มหาทำนุโชค |
author_sort |
ศิวาพร มหาทำนุโชค |
title |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
title_short |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
title_full |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
title_fullStr |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
title_full_unstemmed |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
title_sort |
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57307/47520 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69858 |
_version_ |
1681752796175532032 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-698582020-10-08T07:27:26Z พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว ที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Health Promotion Behaviors of Sgaw Karens in Risk of Non-Communicable Disease (NCD) ศิวาพร มหาทำนุโชค พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ Health Promotion Behavior thnic Group Sgaw Karens วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล โรค NCD หรือ Non-communicable diseases เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อที่มีสาเหตุจากพฤติกรรม สุขภาพที่ไม่เหมาะสม นำมาซึ่งผลกระทบด้านลบต่อสังคมและเศรษฐกิจ การคัดกรอง และแยกกลุ่มผู้มีความ เสี่ยงในระดับต่างๆ และใช้กระบวนการจัดการที่เหมาะสมกับปัจจัยเสี่ยง ควบคู่กับการใช้มาตรการระดับ ประชากรให้มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้นอาจนำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีได้ งานวิจัยเชิงสำรวจนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาวที่มีความเสี่ยงโรค กลุ่ม NCD ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 145 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่น วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาว มีการแสดงออกพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพทั้ง 6 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านภาวะโภชนาการ ด้านการปฏิบัติ พฤติกรรมการออกกำลังกาย ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ และด้านการจัดการความเครียดมีค่าเฉลี่ยอยู่ ในระดับบ่อยๆ โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการปฏิบัติพฤติกรรมการออกกำลังกาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.99 รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.88 ด้านที่มีการแสดงออกพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพน้อยที่สุด คือ ด้านการพัฒนาจิตวิญญาณ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.62 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อคำถามที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ รับประทานอาหารเช้าทุกวัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.62 รองลงมา คือ ออกกำลังกายในระหว่างทำกิจวัตรประจำวัน เช่น เดินไปมา ทำงานบ้านมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.10 และการออกกำลังกายเบาๆ เช่น การเดิน 30-40 นาที สัปดาห์ละ 5 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.03 ตามลำดับ ข้อคำถามที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ รับประทานนม นมถั่วเหลือง หรือปลาเล็กปลาน้อยในแต่ละวัน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0.89 ผลการศึกษาครั้งนี้ ทำให้เข้าใจพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพสามารถนำไปใช้ในการวางแผนและกำหนดแนวทางสำหรับการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาวต่อไป NCDs (Noncommunicable diseases) are the groups of noncommunicable diseases, the caused of NCD whether from unhealthy behaviors lead to the negative effects for the socio-economy. The screen and groups who’s that the risk of NCDs and a good management process of the risk factors, couple the use of the population’s strategies to promote the health promotion behaviors, can be improve a quality of lifes. The purpose of this servey research serves to study the Health Promotion behaviors of Sgaw (White) Karens ethnic group in risk of NCDs by the research property, got 145 sample. The data were collected by the use of interviewed Instruments that investigated for the content validity and the reliability by the experts. Data analysis were use Percentage Mean and Standard Deviation. The study found that : The Sgaw Karens ethnic group shown health promotion behavioral of six dimensions; Spiritual Growth, Interpersonal Relations, Nutrition, Physical Activity, Health Responsibility and Stress Management in the level of often. The highest dimension was Physical Activity (x_ =1.99) the second was Interpersonal Relations (x_ =1.88), the lowest dimension was Spiritual Growth (x_ = 1.62). In term of category, the item of Nutrition (routinely to eat breakfast (x_ = 2.66) was the highest , the second was get exercise during usual daily activities (x_ = 2.10), the third was Take part in light to moderate physical activity (such as sustained walking 30-40 minutes 5 or more times a week) (x_ = 2.03), the lowest was eat milk, fish each day (x_ = 0.89) This study results lead to understand the health behaviors, can be use in planning and determine the way to improve health promotion behaviors that proper for Skaw Karen ethnic group. 2020-10-08T07:27:26Z 2020-10-08T07:27:26Z 2558 พยาบาลสาร 42 (พิเศษธันวาคม 2558) 118-125 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57307/47520 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69858 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |