การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/74526/60066 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69893 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-69893 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chiang Mai University Library |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
เด็ก ความปวดหลังผ่าตัด บิดามารดา การจัดการความปวด Pediatric Postoperative pain Parents Pain management |
spellingShingle |
เด็ก ความปวดหลังผ่าตัด บิดามารดา การจัดการความปวด Pediatric Postoperative pain Parents Pain management รุ่งนภา คำฮ้อย อุษณีย์ จินตะเวช นิตยา ไทยาภิรมย์ การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
รุ่งนภา คำฮ้อย อุษณีย์ จินตะเวช นิตยา ไทยาภิรมย์ |
author_facet |
รุ่งนภา คำฮ้อย อุษณีย์ จินตะเวช นิตยา ไทยาภิรมย์ |
author_sort |
รุ่งนภา คำฮ้อย |
title |
การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
title_short |
การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
title_full |
การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
title_fullStr |
การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
title_full_unstemmed |
การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
title_sort |
การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/74526/60066 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69893 |
_version_ |
1681752803045801984 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-698932020-10-08T08:36:16Z การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง Parental Pain Management in Post-operative Pediatric Patients and Related Factors รุ่งนภา คำฮ้อย อุษณีย์ จินตะเวช นิตยา ไทยาภิรมย์ เด็ก ความปวดหลังผ่าตัด บิดามารดา การจัดการความปวด Pediatric Postoperative pain Parents Pain management วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ความปวดเฉียบพลันในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม การทราบปัจจัยที่เกี่ยวข้องช่วยให้จัดการความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องตามแนวคิดการจัดการความปวดและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกลุ่มตัวอย่างคือบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด อายุ 7–15 ปี จำนวน 123 ราย ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิจำานวน 3 แห่งเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามความรู้ของบิดามารดาเกี่ยวกับการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัด 3) แบบสอบถามการสนับสนุนด้านข้อมูลจากพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัด และ 4) แบบสอบถามการจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็ก หลังผ่าตัด แบบสอบถามเหล่านี้มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาระหว่าง .85-.92 และมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .83-.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1. บิดามารดามีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดอยู่ในระดับปานกลาง (x=13.19,S.D.= 2.80) มีคะแนนการสนับสนุนด้านข้อมูลจากพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดอยู่ในระดับปานกลาง (x=29.23,S.D.=9.69) และคะแนนการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดเหมาะสมระดับปานกลาง (x=37.71, S.D.=3.09) 2. การจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้ของบิดามารดาเกี่ยวกับการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .252, p < .01) และการจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการสนับสนุนด้านข้อมูลจากพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(r=.355, p<.01) ผลการศึกษาครั้งนี้ เป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการความปวดโดยบิดามารดาในผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัด เพื่อวางแผนช่วยให้บิดามารดามีการจัดการความปวดอย่างเหมาะสมและสามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานในการทำวิจัยต่อไป Acute pain in post-operative hospitalized pediatric patients is important and needs proper management. Obtaining information of related factors could help management of pain effectively. The purpose of this correlational descriptive research was to examine parental pain management in post-operative pediatric patients and related factors based on pain management concept and reviewed literature. The study sample were selected by purposive sampling, included 123 parents of post-operative hospitalized pediatric patientsaged from 7 -15 years who admitted tothree tertiary hospitals The study instruments included 1) the Demographic Data Record Form, 2) the Parental Knowledge on PainManagement in Post-operative Pediatric Patients Questionnaire, 3) the Informational Supportby Nurses regarding Pain Management in Post-operative Pediatric Patients Questionnaire, and 4) the Parental Pain Management in Post-operative Pediatric Patients Questionnaire. The content validity index of these instrument ranged from .85 to .92 and the reliability ranged from .83 to .94. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman rank correlation.The study results revealed that parental knowledge score related to pain managementin post-operative pediatric patients were at moderate level (x_ = 13.19, S.D. = 2.80). The scoreof information support by nurses regarding pain management in post-operative pediatric patients were at moderate level (x_ = 29.23, S.D. = 9.69), and appropriate pain management in post-operative pediatric patients score were at moderate level (x_ = 37.71, S.D. = 3.09).Parental pain management in post-operative pediatric patients was positively and statistically significant correlated with their knowledge (r = .252, p .01) and was positively and statistically significant correlated with the information support from nurses (r = .355, p< .01).The results of this study serve as a preliminary information for nurses regarding parentalpain management in post-operative pediatric patients. Nurses may use the information in planning to assist parents to provide proper pain management and can be used as baseline information for further research. 2020-10-08T08:36:16Z 2020-10-08T08:36:16Z 2559 พยาบาลสาร 43,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2559) 13-22 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/74526/60066 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69893 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |