ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศรีมนา นิยมค้า, จุฑารัตน์ มีสุขโข
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77912/62471
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69924
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-69924
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chiang Mai University Library
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ความพร้อมในการจำหน่าย
เด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Hospital discharge
Discharge readiness
Hospitalized children
spellingShingle การจำหน่ายจากโรงพยาบาล
ความพร้อมในการจำหน่าย
เด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Hospital discharge
Discharge readiness
Hospitalized children
ศรีมนา นิยมค้า
จุฑารัตน์ มีสุขโข
ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author ศรีมนา นิยมค้า
จุฑารัตน์ มีสุขโข
author_facet ศรีมนา นิยมค้า
จุฑารัตน์ มีสุขโข
author_sort ศรีมนา นิยมค้า
title ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
title_short ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
title_full ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
title_fullStr ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
title_sort ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77912/62471
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69924
_version_ 1681752808697626624
spelling th-cmuir.6653943832-699242020-10-08T08:36:17Z ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Caregivers of Hospitalized Children in Tertiary Hospitals ศรีมนา นิยมค้า จุฑารัตน์ มีสุขโข การจำหน่ายจากโรงพยาบาล ความพร้อมในการจำหน่าย เด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Hospital discharge Discharge readiness Hospitalized children วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เป็นดัชนีสำคัญบ่งชี้ความปลอดภัยเมื่อจำหน่ายผู้ป่วยเด็กจากโรงพยาบาลและเป็นตัวกำหนดความสำเร็จของการเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลกลับสู่บ้าน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองของผู้ป่วยเด็กที่อายุน้อยกว่า 18 ปี ที่เข้ารับการรักษาในแผนกกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลตติยภูมิ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 120 คน ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2014 ถึงกุมภาพันธ์ 2015 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพการสอนก่อนจำหน่าย และแบบสอบถามการประสานการดูแล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่าความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง คุณภาพการสอนก่อนจำหน่ายและการประสานการดูแลอยู่ในระดับปานกลาง คุณภาพการสอนก่อนจำหน่ายและการประสานการดูแลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในระดับสูง (r = 0.87, p < 0.001; r = 0.88, p < 0.001 ตามลำดับ) และยังพบว่าการประสานการดูแลก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลเป็นตัวทำนายความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล (OR = 19.44; 95% CI = 4.09 - 92.46, p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความพร้อมในการจำหน่ายจากโรงพยาบาลของผู้ปกครองเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและใช้เป็นแนวทางประกอบการพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ Readiness for hospital discharge in caregivers of hospitalized children is an important index of safety and determination of successful illness transition from a hospital to home.A predictive correlation study was conducted to study caregivers’ readiness for discharge of hospitalized children and factors predicting the readiness for hospital discharge in caregivers of hospitalized children in a tertiary hospital. The sample were 120 caregivers of children aged less than 18 years hospitalized at tertiary hospitals in Chiang Mai during November 2014 to February 2015. The research instruments consisted of a demographic questionnaire, the Readiness for Hospital Discharge Scale, the Quality of Discharge Teaching Scale, and the Patient Continuity of Care Questionnaire. Data analysis was performed using descriptivestatistics and logistic regression analysis. The research results showed that readiness for hospital discharge in caregivers of hospitalized children occurred at a high level. Quality of discharge teaching and carecoordination were at a moderate level. In additions, quality of discharge teaching and care coordination were found to be positively correlated with readiness for hospital discharge in caregivers of hospitalized children at a high level (r = 0.87, p < 0.001; r = 0.88, p < 0.001, respectively). Also, the results revealed that the care coordination was a significant predictor of readiness for hospital discharge in caregivers of hospitalized children (OR = 19.44; 95% CI = 4.09 - 92.46, p < .001). The results of the study provide baseline information about readiness for hospital discharge in caregivers of hospitalized children and can be used as a guide to develop nurse-led discharge planning model for tertiary hospitalized pediatricpatients. 2020-10-08T08:36:17Z 2020-10-08T08:36:17Z 2559 พยาบาลสาร 43,1 (ม.ค.-มี.ค. 2559) 1-11 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77912/62471 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69924 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่