การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วสุ สิงหัษฐิต
Other Authors: สุดาศิริ วศวงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10197
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10197
record_format dspace
spelling th-cuir.101972009-08-17T08:04:03Z การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี The Practice of unemployment insurance law in Thailand in comparison to such law in republic of Korea วสุ สิงหัษฐิต สุดาศิริ วศวงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ ประกันการว่างงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- การจ้าง กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- จ้างแรงงาน การจ้างงาน คนว่างงาน วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 ตามที่ประเทศไทยมีแนวคิดที่จะนำกฎหมายประกันการว่างงานมาใช้ ซึ่งในที่นี้ได้แก่การบังคับใช้ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ซึ่งการนำประโยชน์ทดแทนตามกฎหมายดังกล่าวมาใช้ในประเทศไทยมีข้อที่น่าพิจารณาหลายประการคือการจ่ายประโยชน์ทดแทนดังกล่าวเป็นแนวคิดของการจ่ายประโยชน์ทดแทนแบบดั้งเดิม ซึ่งไม่สามารถที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาการว่างงานได้ แต่เป็นเพียงมาตรการที่ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ว่างงานในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น และจากการศึกษากฎหมายประกันการจ้างงานของประเทศสาธารณรัฐเกาหลีจะพบว่ากฎหมายของประเทศเกาหลีเป็นกฎหมายที่มีแนวคิดในเรื่องของการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ว่างงานแตกต่างจากแนวคิดแบบดั้งเดิมที่เน้นการจ่ายประโยชน์ทดแทน กล่าวคือมีแนวคิดที่จะใช้กฎหมายดังกล่าวเป็นเครื่องมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการว่างงานมากกว่าที่จะใช้กฎหมายเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ว่างงานโดยการจ่ายประโยชน์ทดแทนแต่เพียงอย่างเดียว กล่าวโดยสรุปได้ว่าประเทศเกาหลีมีแนวคิดของการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ว่างงานโดยระบบประกันการจ้างงาน มากกว่าที่จะเป็น ระบบประกันการว่างงาน และจากการศึกษาพบว่าประเทศไทยสมควรที่จะนำแนวคิดของการประกันการจ้างงานมาใช้ โดยเริ่มต้นจากการใช้ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานที่ประเทศไทยมีอยู่ บนแนวคิดของการประกันการจ้างงานที่ใช้ประโยชน์ทดแทนเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการว่างงาน หลังจากนั้นก็ขยายความคุ้มครองของกฎหมายสู่การสร้างเสถียรภาพในการจ้างงานด้วยมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสม ตลอดจนการพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องที่จะนำไปสู่ระบบข้อมูลตลาดแรงงานที่มีประสิทธิภาพ และระบบการพัฒนาความสามารถทางอาชีพที่สอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่นำไปสู่การมีกฎหมายประกันการจ้างงานของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพต่อไป For years there has been an effort to use Unemployment Insurance Law in Thailand. Overall, this Law is about paying unemployment benefits to the unemployed as stated in Social Insurance Act B.E. 1990. To enforce this Law. however, a main point needs to be taken into consideration. Those points include a flaw in the application of traditional unemployment benefits that fails to protect and/or solve unemployment problems. What this can be is only a means of temporarily helping the unemployed. In addition to that and according to studying of in Korea's Employment Insurance Law, It found that to Some extent the concepts under The Employment Insurance Law in Korea are different from those in unemployment insurance law. It is the fact that Korea's Employment Insurance Law is meant to help the unemployed as well as to protect and solve unemployment problems rather than simply just giving the unemployment benefits to those who have lost their jobs. Thus, it can be concluded that Korea has an idea to give some help to the unemployed as following the principles of employment insurance system rather than those of unemployment insurance system. For all reasons mentioned above, I believe it is quite appropriate to make use of the employment insurance system in Thailand, by starting from applying the existence of unemployment benefits to employment insurance system to help solve unemployment problems. Then, the extension of the law should be done to create employment stability. This can be achieved by using proper means and/or developing any concerned laws to bring about such things as an effective labor market information system and vocational ability development system. These can somewhat lead to possessing an effective employment insurance law in Thailand. 2009-08-17T08:02:14Z 2009-08-17T08:02:14Z 2544 Thesis 9740310559 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10197 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014171 bytes application/pdf application/pdf ไทย เกาหลี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ประกันการว่างงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- การจ้าง
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- จ้างแรงงาน
การจ้างงาน
คนว่างงาน
spellingShingle ประกันการว่างงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- การจ้าง
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- จ้างแรงงาน
การจ้างงาน
คนว่างงาน
วสุ สิงหัษฐิต
การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
author2 สุดาศิริ วศวงศ์
author_facet สุดาศิริ วศวงศ์
วสุ สิงหัษฐิต
format Theses and Dissertations
author วสุ สิงหัษฐิต
author_sort วสุ สิงหัษฐิต
title การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
title_short การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
title_full การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
title_fullStr การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
title_full_unstemmed การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
title_sort การใช้กฎหมายประกันการว่างงานในประเทศไทย : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10197
_version_ 1681409341105635328