สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิชิต กำมันตะคุณ
Other Authors: วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10374
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10374
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การนิเทศการศึกษา
สมรรถนะ
ผู้บริหารโรงเรียน
spellingShingle การนิเทศการศึกษา
สมรรถนะ
ผู้บริหารโรงเรียน
วิชิต กำมันตะคุณ
สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
author2 วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์
author_facet วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์
วิชิต กำมันตะคุณ
format Theses and Dissertations
author วิชิต กำมันตะคุณ
author_sort วิชิต กำมันตะคุณ
title สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
title_short สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
title_full สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
title_fullStr สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
title_full_unstemmed สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
title_sort สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10374
_version_ 1681411700029390848
spelling th-cuir.103742009-08-24T07:45:49Z สมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ Supervisory competencies of school administrators as perceived by themselves and teachers in the Royal Awarded primary schools under the jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commission วิชิต กำมันตะคุณ วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การนิเทศการศึกษา สมรรถนะ ผู้บริหารโรงเรียน วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 ศึกษาระดับสมรรถภาพทางการนิเทศตามการรับรู้ของตนเองและครู ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ และศึกษาตัวประกอบสมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารตามการรับรู้ของตนเองและครูในโรงเรียนประถมศึกษา ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ในปีการศึกษา 2539 โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับสมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 8 ด้าน จำนวน 60 ข้อ ส่งไปจำนวน 746 ฉบับ ได้รับคืน 699 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 93.70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณค่ากลางเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย และวิเคราะห์ตัวประกอบด้วยวิธี Principal Component Analysis (PC) หมุนแกนตัวประกอบแบบออโธกอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารรับรู้ว่าตนเองมีสมรรถภาพทางการนิเทศ ในระดับมากถึงมากที่สุด ครูผู้สอนรับรู้ว่าผู้บริหารมีสมรรถภาพทางการนิเทศ ในระดับมากทุกสมรรถภาพ 2. ตัวประกอบที่สำคัญของสมรรถภาพทางการนิเทศของผู้บริหารโรงเรียน 6 ตัวประกอบ เรียงตามลำดับความสำคัญดังนี้ คือ (2.1) ตัวประกอบด้านการสร้างบรรยากาศที่ดีและการสร้างทีมงาน เป็นตัวประกอบที่มีความสำคัญมากที่สุด ประกอบด้วยตัวแปร 15 ตัวแปร มีความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 71.0 (2.2) ตัวประกอบด้านการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ประกอบด้วยตัวแปร 8 ตัวแปร มีความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 5.9 (2.3) ตัวประกอบด้านการตัดสินใจ ประกอบด้วยตัวแปร 7 ตัวแปร มีความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 4.6 (2.4) ตัวประกอบด้านการมอบหมายงานบุคลากร การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร ประกอบด้วยตัวแปร 14 ตัวแปร มีความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 4.1 (2.5) ตัวประกอบด้านการวางแผนและการจัดระเบียบการประชุม ประกอบด้วยตัวแปร 8 ตัวแปร มีความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 3.6 (2.6) ตัวประกอบด้านการนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดี ประกอบด้วยตัวแปร 8 ตัวแปร มีความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 1.7 To study the level of the supervisory competencies of school administrators as percieved by themselves and teachers in the Royal Awarded primary schools under the jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commission and to study the factors of the supervisory competencies of school administrators as percieved by themselves and teachers in the Royal Awarded primary schools under the jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commission. The questionnaires including 8 topics and 60 items constructed by the researcher were used for the school administrators and teachers. The 746 questionnaires were sent to the samples but 699 (93.70%) returned. The obtained questionnaires were analyzed by using the SPSS/PC+ computer program to compute the arithmatic mean, standard deviation and coefficient of variation for each item. Factor analysis method by Principal Component Analysis and Varimax Rotation Method was also used for data analysis. The findings were as follows: 1. The levels of the supervisory competencies of school administrators as percieved by themselves were at high to higher level and as percieved by teachers were at high level every item. 2. There were 6 dominant factors of the competencies of school administrators arranged from the most to the less importance: (2.1) The building a healthy climate and team building consisted of 15 variables. Persent of variance was 71.0. (2.2) The resolving conflict consisted of 8 variables. Persent of variance was 5.9. (2.3) The making decision consisted of 7 variables. Persent of variance was 4.6. (2.4) The assigning personnel, the recruiting and selecting personnel consisted of 14 variables. Persent of variance was 4.1. (2.5) The planning and organizing metting consisted of 8 variables. Persent of variance was 3.6. (2.6) The bringing about change consisted of 8 variables. Persent of variance was 1.7 2009-08-24T07:45:49Z 2009-08-24T07:45:49Z 2540 Thesis 9746381385 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10374 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 918716 bytes 907663 bytes 2499777 bytes 893590 bytes 1892845 bytes 1906657 bytes 1799281 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย