การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10543 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.10543 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แพลงค์ตอนสัตว์ นิเวศวิทยาป่าชายเลน |
spellingShingle |
แพลงค์ตอนสัตว์ นิเวศวิทยาป่าชายเลน บัณฑิต สิขัณฑกสมิต การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
author2 |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ |
author_facet |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ บัณฑิต สิขัณฑกสมิต |
format |
Theses and Dissertations |
author |
บัณฑิต สิขัณฑกสมิต |
author_sort |
บัณฑิต สิขัณฑกสมิต |
title |
การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
title_short |
การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
title_full |
การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
title_fullStr |
การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
title_full_unstemmed |
การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
title_sort |
การแปรผันในรอบปีของประชากร copepod, cladocera และ rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10543 |
_version_ |
1681410232120508416 |
spelling |
th-cuir.105432009-08-26T09:11:20Z การแปรผันในรอบปีของประชากร Copepod, Cladocera และ Rotifer ในป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม Variations in copepod, cladocera and rotifer populations in mangrove swamp at Baan Klong Kone, Samut Songkhram Province บัณฑิต สิขัณฑกสมิต อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ แพลงค์ตอนสัตว์ นิเวศวิทยาป่าชายเลน วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ศึกษากลุ่มประชากรแพลงก์ตอนสัตว์ในคลองแพรกใหญ่ ป่าชายเลนบ้านคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม โดยเฉพาะกลุ่ม Copepod, Cladocera และ Rotifer โดยเก็บตัวอย่างระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2542 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2543 เดือนละ 1 ครั้ง ในช่วงวันนั้น 8 ค่ำของทุกเดือน โดยใช้ถุงลากแพลงก์ตอนขนาดตา 103 ไมครอน ลากตามแนวระดับในขณะน้ำกำลังขึ้น น้ำขึ้นสูงสุด และน้ำกำลังลง ตามจุดเก็บตัวอย่าง 4 สถานี จากสถานีด้านนอกที่ติดทะเล เข้าไปสู่สถานีด้านในคลองบริเวณป่าชายเลนธรรมชาติ ผลการศึกษาพบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด 31 กลุ่ม จาก 11 ไฟลัม มีความหนาแน่นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 4.66 x 10[superscript 4] - 3.99 x 10[superscript 6] ตัวต่อปริมาตรน้ำ 100 ลูกบาศก์เมตร โดยมี Copepods เป็นแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มเด่น มีความหนาแน่นประมาณร้อยละ 40 ของปริมาณแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมดที่พบในแต่ละเดือน แพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มที่พบหนาแน่นรองลงมาได้แก่ ตัวอ่อนระยะ Nauplius ของ Copepod, ตัวอ่อนของหอยฝาเดียว, ตัวอ่อนของเพรียง, Mysidacea, Zoea of Brachyura และตัวอ่อนของหอยสองฝา Copepod เป็นแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มเด่น พบได้ทุกสถานีและตลอดช่วงเวลาที่ทำการศึกษา พบ Copepod จาก 3 อันดับ รวม 18 ชนิด โดยมีชนิดเด่นคือ Acartia clausi, Calanus vulgaris และ Oithona brevicornis เมื่อคิดเป็นร้อยละของความหนาแน่น พบว่า Copepod ทั้ง 3 ชนิดที่เป็นชนิดเด่น มีความหนาแน่นรวมกันประมาณร้อยละ 95.35 ของความหนาแน่น Copepod ทั้งหมด ส่วน Cladocera พบ 2 ชนิดจาก 2 ครอบครัว คือ ไรน้ำน้ำจืด Diaphanosoma modigliani และไรน้ำน้ำเค็ม Evadne tergestina โดยพบมากในช่วงฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ฤดูแล้ง) Rotifer พบ 2 ชนิด คือ Brachionus urceolaris และ Brachious plicatilis ซึ่งเป็นชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำกร่อย พบในช่วงความเค็มระหว่าง 3.2-16.1 psu และพบมากในช่วงฤดูร้อนจนถึงช่วงต้นฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ฤดูฝน) ความเค็มเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อองค์ประกอบชนิดความหนาแน่น และการกระจายของแพลงก์ตอนสัตว์ในป่าชายเลนแห่งนี้ ปริมาณสารอาหาร และคลอโรฟิลล์ เอ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแพลงก์ตอนสัตว์เช่นกัน ผลการศึกษาครั้งนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของแพลงก์ตอนสัตว์ ในการสร้างกลุ่มระชากรสัตว์ทะเลที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ และสัตว์ทะเลหน้าดิน ในกลุ่ม หอยสองฝา กุ้งเคย ปู และหอยฝาเดียว Zooplankton populations in Mangrove swamp at Baan Klong Kone, Samut Songkhram province were investigated from November 1999 to November 2000. Zooplankton samples were collected monthly with a 103 micrometre mesh conical net equipped with a flowmeter from 4 sampling stations. Towing were conducted at 3 time periods of high tide-slack tide-slack tide-low tide. Zooplankton found in this mangrove swamp comprised of 31 groups from 11 phyla. The average density was between 4.66 x 10[superscript 4] - 3.99 x 10[superscript 6] ind. 100 m[superscript -3]. Copepod dominated zooplankton populations and contributed about 40% of total zooplankton density. Copepod nauplii, Gastropod larvae, Cirripedia nauplii, Mysidacea, Zoea of Brachyura and Pelecypoda larvae were found in density following those of copepods. Copepod found in the mangrove composed of 18 species from 3 order (Calanoid copepod, Cyclopoid copepod and Harpacticoid copepod). Dominant species were Acartia clausi, Calanus vulgaris and Oithona brevicornis (95.53% of total Copepod) which appeared throught the study period. Cladocera composed of 2 species from 2 Family; Diaphanosoma modigliani and Evadne tergestina; was found only in bracklish water and during the northeast monsoon. Two species of rotifer; Brachionus urceolaris and Brachionus plicatilis; were found in abundance in the months with salinity levels between 3.2-16.1 psu with high density in summer toward the southwest monsoon. Salinity was the important environment factor controlling zooplankton abundance. Nutrients and chlorophyll_a were also affected zooplankton density. The temporal variation in abundance of certain zooplankton groups in this mangrove also indicates the important role of zooplankton in the recruitment of some economically important animals such as crockers and pelagic shrimp as well as the benthic animals commonly found in the mangrove such as crabs and gastropods. 2009-08-26T09:11:20Z 2009-08-26T09:11:20Z 2545 Thesis 9741728387 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10543 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1815836 bytes application/pdf application/pdf สมุทรสงคราม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |