การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กฤษณ์ จารุทะวัย
Other Authors: มนัสกร ราชากรกิจ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10550
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10550
record_format dspace
spelling th-cuir.105502009-08-26T09:46:59Z การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน Utilization of palm-fiber fly ash and bagasse fly ash as partial cement replacement กฤษณ์ จารุทะวัย มนัสกร ราชากรกิจ อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปูนซีเมนต์ ขี้เถ้าลอย ปาล์ม ชานอ้อย วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเถ้าลอยเส้นใยปาล์มจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยจากโรงงานน้ำตาล มาใช้แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์บางส่วนในการผสมมอร์ตา ซึ่งได้ทำการศึกษาถึงสมบัติทางกายภาพและส่วนประกอบทางเคมีของเถ้าลอยทั้งสองชนิดนี้ รวมทั้งทำการทดสอบสมบัติของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ผสมเถ้าลอยแต่ละชนิด คือ ความต้องการน้ำ ระยะเวลาการก่อตัว การพัฒนากำลังรับแรงอัด และใช้หลักการเลี้ยวเบนโดยรังสีเอ็กซ์ (X-ray Diffraction) เพื่อวิเคราะห์ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในซีเมนต์เพสท์ที่ผสมเถ้าลอยแต่ละชนิด นอกจากนี้ได้ทำการทดสอบลักษณะของน้ำชะจากเถ้าลอยทั้งสองชนิด ตามข้อกำหนดในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) เพื่อยืนยันความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ในการนำเถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยมาใช้ประโยชน์ ผลการทดสอบสมบัติของเถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อย สรุปได้ว่า เถ้าลอยทั้งสองชนิดนี้ไม่สามารถจัดเป็นวัสดุปอซโซลานตามข้อกำหนดใน ASTM C618 และเมื่อนำมาใช้ แทนที่ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ พบว่า กำลังรับแรงอัดของมอร์ตาลดลง ส่วนความต้องการน้ำและระยะเวลาการก่อตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับมอร์ตาธรรมดา ซึ่งในงานวิจัยนี้ เถ้าลอยเส้นใยปาล์มสามารถนำมาใช้แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในการผสมมอร์ตาได้ร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก โดยใช้สัดส่วนระหว่างวัสดุประสานต่อทราย เท่ากับ 1 ต่อ 2.75 และปริมาณน้ำต่อวัสดุประสาน เท่ากับ 0.485 ต่อ 1 ซึ่งให้ค่ากำลังรับแรงอัดที่อายุการบ่ม 28 วัน ประมาณร้อยละ 85 เมื่อเทียบกับมอร์ตาธรรมดา ส่วนมอร์ตาผสมเถ้าลอยชานอ้อยให้ค่ากำลังรับแรงอัดที่อายุการบ่ม 28 วัน ประมาณร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับมอร์ตาธรรมดา ส่วนผลการวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในน้ำชะของเถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อย พบว่า มีค่าต่ำกว่าเกณฑ์กำหนดในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) The research was conducted to study the probability in utilization of palm-fiber fly ash and bagasse fly ash as partial cement replacement.materials. These two types of fly ash were used to replace cement for making fly ash cement mortars. Physical properties, chemical compositions of the two types of fly ash and properties of cement mixed with each type of fly ash were under investigation, including water requirement, setting time and compressive strength. The development of hydration and pozzolanic reactions of each type of fly ash cement paste was also conducted using X-ray diffraction (XRD) analysis. For safe environment, palm-fiber fly ash and bagasse fly ash were evaluated by performing the leachate extraction procedure described in the Notification of Ministry of Industry No.6 (1997). The experimental results indicated that palm-fiber fly ash and bagasse fly ash could not be classified as a pozzolanic material according to ASTM C618 requirements. Both types of fly ash cement mortars showed slightly lower compressive strengths and longer setting times as well as required more water to obtain normal consistency than the control. Palm-fiber fly ash cement mortars can be used to directly replace portland cement up to 10 percent by weight with a 1:2.75 ratio of binder to sand and a water to binder ratio of 0.485. The 28-day unconfined compressive strength of this optimum mortar mix possessed satisfactory strength of about 85 percent of the control, while bagasse fly ash cement mortars possessed about 50 percent. Finally, the amounts of all heavy metals in leachates of both palm-fiber and bagasse fly ash met the regulatory limits. 2009-08-26T09:46:58Z 2009-08-26T09:46:58Z 2545 Thesis 9741722516 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10550 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 19486811 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ปูนซีเมนต์
ขี้เถ้าลอย
ปาล์ม
ชานอ้อย
spellingShingle ปูนซีเมนต์
ขี้เถ้าลอย
ปาล์ม
ชานอ้อย
กฤษณ์ จารุทะวัย
การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 มนัสกร ราชากรกิจ
author_facet มนัสกร ราชากรกิจ
กฤษณ์ จารุทะวัย
format Theses and Dissertations
author กฤษณ์ จารุทะวัย
author_sort กฤษณ์ จารุทะวัย
title การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
title_short การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
title_full การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
title_fullStr การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
title_full_unstemmed การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
title_sort การใช้เถ้าลอยเส้นใยปาล์มและเถ้าลอยชานอ้อยแทนที่ซีเมนต์บางส่วน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10550
_version_ 1681413686509436928