ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุภาวดี จันทร์จุงจิตต์
Other Authors: เจริญ นิติธรรมยง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10578
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10578
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ชีววิทยาประมง
ปลาหมึกกล้วย
spellingShingle ชีววิทยาประมง
ปลาหมึกกล้วย
สุภาวดี จันทร์จุงจิตต์
ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
author2 เจริญ นิติธรรมยง
author_facet เจริญ นิติธรรมยง
สุภาวดี จันทร์จุงจิตต์
format Theses and Dissertations
author สุภาวดี จันทร์จุงจิตต์
author_sort สุภาวดี จันทร์จุงจิตต์
title ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
title_short ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
title_full ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
title_fullStr ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
title_full_unstemmed ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
title_sort ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย loligo duvauceli d'orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10578
_version_ 1681409057558102016
spelling th-cuir.105782009-08-27T06:24:36Z ชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli d'Orbigny บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง Fishery biology of Indian squid Loligo duvauceli d Orbigny in the lower Gulf of Thailand สุภาวดี จันทร์จุงจิตต์ เจริญ นิติธรรมยง ทวีป บุญวานิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ชีววิทยาประมง ปลาหมึกกล้วย วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 ศึกษาชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย Loligo duvauceli บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมงของจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส โดยการเก็บตัวอย่าง 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นการสุ่มข้อมูลจากท่าขึ้นปลาที่สำคัญ ที่สุ่มเก็บตัวอย่างจากเรือที่ใช้เครื่องมืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดกลาง (ความยาวเรือ 14-18 เมตร) โดยนักวิชาการประมงทะเลระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2537 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2538 และส่วนที่ 2 เป็นการเก็บข้อมูลความดกของไข่หมึกกล้วย โดยการสุ่มตัวอย่าง ณ ท่าขึ้นปลาจังหวัดสงขลา จากเรือที่ใช้เครื่องมืออวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดกลาง ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม และเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็นช่วงที่หมึกมีการวางไข่สูง จากข้อมูลทั้ง 2 ส่วน นำมาศึกษาชีววิทยาประมงของหมึกกล้วย เพื่อประเมินสถานการณ์การประมงในปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า ความยาวสูงสุดเฉลี่ยที่หมึกกล้วยสามารถเติบโตได้ (L) เท่ากับ 24.9 และ 23.3 ซม. โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การเติบโต (K) เท่ากับ 1.4 และ 1.6 ต่อปี ในเพศผู้และเพศเมียตามลำดับ อายุของหมึกกล้วยเมื่อมีความยาวแมนเทิลเท่ากับศูนย์ (t0) เท่ากับ -0.004 ปี ทั้ง 2 เพศ สัมประสิทธิ์การตายรวม (Z) ของหมึกเพศผู้และเพศเมียเท่ากับ 3.97 และ 8.70 ต่อปี โดยแยกเป็นสัมประสิทธิ์การตายเนื่องจากธรรมชาติ (M) เท่ากับ 1.42 และ 1.58 ต่อปี และสัมประสิทธิ์การตายเนื่องจากการประมง (F) เท่ากับ 2.55 และ 7.12 ต่อปี อัตราการใช้ประโยชน์ (F/Z) ในเพศผู้และเพศเมียเท่ากับ 0.64 และ 0.82 ปัจจุบันมีการทำประมงหมึกเพศผู้และเพศเมียเกินกำลังการผลิต (overfishing) เมื่อใช้ผลผลิตสูงสุดถาวร (MSY) เป็นจุดอ้างอิงอยู่ 32% และ 70% ตามลำดับ อย่างไรก็ตามเมื่อลด F/Z จากระดับปัจจุบันเป็น 0.5 พบว่า ยังคงเกิดการประมงที่เกินกำลังผลิตอยู่ 27% และ 55% ในหมึกเพศผู้และเพศเมียตามลำดับ เมื่อพิจารณารวมทั้ง 2 เพศ พบว่ามีการประมงที่เกินกำลังผลิตอยู่ถึง 50% และ 40% เมื่อเปรียบเทียบ F/Z ในระดับปัจจุบันและ F/Z ที่เท่ากับ 0.5 ตามลำดับ และสามารถอธิบายสัดส่วนหมึกเพศเมียวัยเจริญพันธุ์ต่อหมึกเพศเมียทั้งหมดที่จำแนกตามความยาว (PL) โดยใช้ Johnson Schumacher function และ logistic curve ได้ค่าความยาวแมนเทิลเฉลี่ยที่เริ่มสืบพันธุ์ (L50) เท่ากับ 8.46 และ 8.47 ซม. ตามลำดับ ความสัมพันธ์ระหว่างความดกของไข่ (F) กับความยางแมนเทิล (L) สามารถอธิบายโดยใช้ power function และพบปริมาณความดกของไข่มากในเดือนมีนาคมถึงเมษายน และเดือนตุลาคม จากการที่ทรัพยากรหมึกกล้วยชนิดนี้มีการทำประมงเกินผลผลิตสูงสุดถาวร (MSY) ถึง 50% ในสถานการณ์การประมงในปัจจุบัน และจากการศึกษาสัดส่วนหมึกวัยเจริญพันธุ์เพศเมียต่อหมึกกล้วยเพศเมียทั้งหมดพบว่า L50 มีค่าประมาณ 9 ซม. ดังนั้นเพื่อให้โอกาสหมึกกล้วยในการสืบพันธุ์ จึงควรกำหนดขนาดความยาวแรกจับให้มีขนาดใหญ่กว่า 9 ซม. โดยการเปลี่ยนขนาดตาอวนให้มีขนาด 3.5 ซม. แทนตาอวนขนาด 2.5 ซม. และถ้ายังกำหนดให้มีอัตราการใช้ประโยชน์เท่ากับที่ใช้ในปัจจุบัน จะทำให้ MSY ที่ได้สูงขึ้น โดยต้องลดการลงแรงแระมงลง 10% และถ้าต้องการทำประมงที่ระดับผลผลิตสูงสุดเชิงเศรษฐศาสตร์ (MSE) จะต้องลดการลงแรงประมงอีก 45% Fishery biology of Loligo duvauceli in the lower Gulf of Thailand covering fishing areas of changwat Nakhon Si Thammarat, Songkhla, Pattani and Narathiwat was studied. Samplings were divided into 2 parts. The first part consisted of random sampling of catches from middle size otter trawlers (boat length 14-18 m) at main fishing ports by marine fishery scientists during January 1994-December 1995. The second sampling periods were done at the port of Songkhla from middle size other trawlers (boat length 14-18 m.) during January to March and July to September 1997 which were considered the spawning peaks of squid. The estimated asymtotic length (L) were 24.9 cm. and 23.3 cm. while curvature parameter (K) were 1.4 yr-1 and 1.6 yr-1 in male and female respectively. The intial condition parameter (t0) were -0.004 yr in both sexes. The total mortality coefficients (Z) were 3.97 yr-1 and 8.70 yr-1 in male and female. The natural mortality coefficients (M) were 1.42 yr-1 and 1.58 yr-1 whereas fishing mortality coefficients (F) were 2.55 yr-1 and 7.12 yr-1 in male and female. Exploitation rate (F/Z) were 0.64 in male and 0.82 in female. The result showed that male and female squid were overfished by 32% and 70% using maximum sustainable yield (MSY) as a reference point. Reducing exploitation rates of both sexes to 0.5, male and female squids were still overfished by 27% and 55%, respectively of both sexes to 0.5, male and femal squids were still overtished by 27% and 55%, respectively. Combining sexes, squid was overfished by 50% and 40% at the present exploitation rate and at 0.5. Ratio of mature female to total female categorized by length class described by a Johnson Schumacher function and a logistic curve revealed that the calculated lengths at first maturation was 8.46 and 8.47 cm., respectively. The relationship between fecundity and mantle length could be described by a power function. Peaks of spawning were observed prominently in March to April and October. To allow squid to spawn, length at first capture should be set at 9 cm. by changing mesh size from 2.5 cm. to 3.5 cm. If the exploitation rate was maintained at the present rate, the higher MSY would be achieved by reducing fishing effort by 10%. To obtain maximum sustainable economic yield (MSE); however, fishing effort should be reduced by 45% 2009-08-27T06:24:36Z 2009-08-27T06:24:36Z 2541 Thesis 9746396862 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10578 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 810174 bytes 887221 bytes 873070 bytes 855432 bytes 1339367 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย