การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรพรรณ บุตรกตัญญู
Other Authors: จีระพันธุ์ พูลพัฒน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10601
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10601
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เด็กวัยก่อนเข้าเรียน
พัฒนาการของเด็ก
การศึกษาปฐมวัย
การปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ
spellingShingle เด็กวัยก่อนเข้าเรียน
พัฒนาการของเด็ก
การศึกษาปฐมวัย
การปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ
อรพรรณ บุตรกตัญญู
การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
author2 จีระพันธุ์ พูลพัฒน์
author_facet จีระพันธุ์ พูลพัฒน์
อรพรรณ บุตรกตัญญู
format Theses and Dissertations
author อรพรรณ บุตรกตัญญู
author_sort อรพรรณ บุตรกตัญญู
title การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
title_short การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
title_full การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
title_fullStr การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
title_full_unstemmed การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
title_sort การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10601
_version_ 1681412378104692736
spelling th-cuir.106012009-08-27T10:27:28Z การศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล A study of administrators and teachers' understanding of developmentally appropriate practice for preschool children อรพรรณ บุตรกตัญญู จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะคุรุศาสตร์ เด็กวัยก่อนเข้าเรียน พัฒนาการของเด็ก การศึกษาปฐมวัย การปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 ศึกษาความเข้าใจและการปฏิบัติของผู้บริหารและครู เกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล ด้านการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและนโยบายของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร 100 คน และครู 232 คน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน ทบวงมหาวิทยาลัย และสภาสถาบันราชภัฏ ในจังหวัดเชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลาและกรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2542 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความเข้าใจ แบบสอบถามการปฏิบัติ แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจของผู้บริหารและครู เกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาล อยู่ในระดับปานกลาง จากคะแนนในการทำแบบวัดความเข้าใจ ที่มีลักษณะเป็นสถานการณ์ในการตัดสินใจ โดยผู้บริหารส่วนใหญ่มีความเข้าใจมากที่สุด ในการสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับจำนวนเด็กอนุบาลที่เพิ่มขึ้น และมีความเข้าใจน้อยที่สุดในการกำหนดนโยบาย สำหรับการใช้ภาษาและการสื่อสารภายในโรงเรียน สำหรับครูส่วนใหญ่มีความเข้าใจมากที่สุด ในการรายงานผลการประเมินเด็ก และมีความเข้าใจน้อยที่สุดในการจัดประสบการณ์ หรือสื่อที่ซับซ้อนมากขึ้นเมื่อเด็กทำได้แล้ว และเปิดโอกาสให้มีการทบทวนหรือทำซ้ำ การปฏิบัติของผู้บริหารและครูตามระดับความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กวัยอนุบาลตามที่ศึกษา 6 ด้าน พบว่า กลุ่มของผู้บริหารและครูที่มีความเข้าใจระดับมาก มีการปฏิบัติที่เห็นเด่นชัดในแต่ละด้าน คือ การจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม การมีส่วนร่วมกับเด็กในการทำกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อยและรายบุคคล การบูรณาการหลักสูตร การใช้แฟ้มสะสมงาน การให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมกับทางโรงเรียน และการส่งเสริมให้ครูพัฒนาอย่างต่อเนื่องทางการศึกษาปฐมวัย กลุ่มของผู้บริหารและครูที่มีความเข้าใจระดับปานกลาง มีการปฏิบัติที่เห็นเด่นชัดในแต่ละด้าน คือ การจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ การมีส่วนร่วมกับเด็กในการทำกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกลุ่มใหญ่และรายบุคคล การใช้แผนการสอนของหน่วยงานที่จัดทำขึ้น การใช้แบบประเมินความพร้อม การเชิญผู้ปกครองให้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนจัดให้ และการสนับสนุนให้ครูเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย กลุ่มของผู้บริหารและครูที่มีความเข้าใจระดับน้อย มีการปฏิบัติที่เห็นเด่นชัดในแต่ละด้าน คือ ไม่มีการจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม การมีส่วนร่วมกับเด็กในการทำกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกลุ่มใหญ่ การแบ่งหลักสูตรเป็นรายวิชา การแจ้งข่าวสารและพูดคุยกับผู้ปกครอง และไม่ได้รับครูที่จบทางการศึกษาปฐมวัย หรือผ่านการอบรม To study administrators and teachers' understanding and practice of developmentally appropriate practice on creating a caring community of learners, teaching to enhance child development and learning, constructing appropriate curriculum, assessing children's development and learning, building reciprocal relationship with parents, and program policies. Samples were 100 administrators and 232 teachers in Office of National Primary Education Commission, Office of the Private Education Commission, Ministry of University Affairs and Office of Rajabhat Institutes Councils at Chiang Mai, Khon Kean, Songkhla and Bangkok in 1999 academic year. Data collection methods were a test of developmentally appropriate practice, a questionnaire, an interview and an observation. Findings were that the understanding of administrators and teachers was at medium level according to the test score of decision making situations. The most understanding of administrators was the selection of early childhood teachers for increasing preschool children, and the less understanding's was about the present policy in communicating with children in the school. The most understanding of teachers was reporting results of children assessment, and less understanding's was to create more complex experiences and learning materials when the children had already done and drilled. The practices of administrators and teachers according to the level of their understandings at 6 substances of the study were as follows: At the high level of understanding, there were: creating both physical and social environments; participating in learning activities with children in a large group, a small group and an individual; integrating curriculum; using a portfolio assessment; cooperating parents and staffs; and encouraging an ongoing professional development. At the medium level of understanding, there were: creating physical environment; participating in learning activities with children in a large group and an individual; using a prescribed curriculum plan; assessing by readiness tests; inviting parents to participate in school activities; and supporting teachers to engage in-service training. At the low level of understanding, there were: not creating physical and social environment; participating in learning activities with children in a large group; not integrating curriculum; assessing by readiness tests; providing information to parents; and not being interested in teachers who experience or train in early childhood education. 2009-08-27T10:27:28Z 2009-08-27T10:27:28Z 2542 Thesis 9743334394 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10601 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 804965 bytes 863444 bytes 2156029 bytes 1034986 bytes 1150254 bytes 879195 bytes 2448736 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย